ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนศึกษานารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phongphan117 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
}}
 
'''โรงเรียนศึกษานารี''' ({{lang-en|Suksanari School}}) (อักษรย่อ: ศ.น., S.N.) เป็น[[โรงเรียนสตรี]]ล้วนใน[[กรุงเทพมหานคร]] ตั้งอยู่ที่ [[ถนนประชาธิปก]] แขวงวัดกัลยาณ์ [[เขตธนบุรี]]
มีการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6
 
== ประวัติโรงเรียนศึกษานารี ==
โรงเรียนศึกษานารีเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย สังกัดกระทรวงศึกษาธิการเริ่มก่อตั้งขึ้นในวัดอนงคาราม โดย[[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม พุทธสรมหาเถระพุทฺธสโร)]] เจ้าอาวาสวัดอนงคาราม รูปที่ 6 กล่าวคือ
เมื่อครั้งท่านเป็นพระอันดับ เรียกกันว่า '''พระอาจารย์นวม''' ท่านได้เริ่มจัดระบบการสอนลูกศิษย์ของท่านเป็นการส่วนตัวขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2432 ต่อมามีผู้เห็นประโยชน์แห่งการศึกษา จึงมีการนำบุตรหลานที่เป็นชายมาฝากเรียนเพิ่มขึ้นทุกปี
 
จนถึง พ.ศ. 2440 กรมศึกษาธิการได้อุปการะครูที่ท่านจ้างมาสอนให้เป็นข้าราชการรับพระราชทานเงินเดือน และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทพระราชทานสมณศักดิ์เลื่อนท่านขึ้นป็นพระครูอุดมพิทยากร เมื่อ ปีพ.ศ. 2441
เมื่อ ปีพ.ศ. 2441
 
พ.ศ. 2444 กรมศึกษาธิการได้อนุมัติเงินจำนวน 4,030 บาท ให้ท่านสร้างโรงเรียนขึ้นหลังหนึ่งเป็นเรือนไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูง ทำให้มีสถานที่เล่าเรียนเพิ่มขึ้นจากเดิม
ซึ่งมีผู้สร้างถวายไว้แล้ว 2 หลัง พระครูอุดมพิทยากรได้ดำริเห็นว่า ได้ช่วยการศึกษาฝ่ายกุลบุตรสมความมุ่งหมาย ยังแต่ฝ่ายกุลสตรีเท่านั้นที่ยังมิได้ให้ความช่วยเหลือ จึงได้เปิดสอนนักเรียนสตรีขึ้น โดยจ้างนายธูปมาเป็นครูสอน จึงนับได้ว่านักเรียนรุ่นนี้เป็นนักเรียนรุ่นแรกของโรงเรียนศึกษานารี
 
ต่อมาเมื่อมีนักเรียนสตรีมากขึ้น พระครูอุดมพิทยากรเห็นว่าสถานที่เล่าเรียนอยู่ใกล้กับกุฏิสงฆ์มากเกินไปเป็นการไม่เหมาะสม จึงได้ดำเนินการติดต่อขอที่ดินคุณหญิงพัน อันเป็นมรดกสืบเนื่องมาจาก[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรประยูรวงศ์]] (ดิศ บุนนาค)]] เปิดเป็นสถานที่เล่าเรียนสตรีฝ่ายสตรี (ปัจจุบัน คือ บริเวณสถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา) เมื่อได้ย้ายนักเรียนมาอยู่ ณ ที่นั้นใช้นามโรงเรียนว่า '''โรงเรียนสตรีอุดมวิทยายน''' ต่อมากระทรวงธรรมการเห็นว่าชื่อของโรงเรียนมีคำว่า อุดม ไปพ้องกับโรงเรียนชั้นอุดมศึกษา จึงเรียนหารือกับพระครูอุดมพิทยากรขอเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น '''โรงเรียนศึกษานารี''' ตั้งแต่วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2453
จึงเรียนหารือกับพระครูอุดมพิทยากรขอเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น '''โรงเรียนศึกษานารี''' ตั้งแต่วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2453
 
วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2473 กระทรวงศึกษาธิการได้พิจารณาเห็นว่า โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยาซึ่งเปิดสอนอยู่ที่โรงเรียนศึกษานารีปัจจุบันนี้ เป็นโรงเรียนชาย
เส้น 39 ⟶ 37:
คำว่าแต่เดิมนั้นหมายเพียงแต่ปี พ.ศ. 2475 เท่านั้น กาลเวลาที่ยาวนานนั้นที่ดินตรงนี้เป็นส่วนหนึ่งของที่ตั้งบ้านเรือนของตระกูลบุนนาค ซึ่งเป็นตระกูลขุนนางใหญ่มาตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์
 
และเมื่อมาถึงสมัยรัชการที่ 5 ขุนนางตระกูลบุนนาคมีอิทธิพลทางการเมืองมาก คือ [[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์]] (ช่วง บุนนาค)]] ท่านปู่ของเจ้าคุณพระประยุรวงศ์นั่นเอง ตระกูลบุนนาคตั้งบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งธนนี้ทั้งหมด ตั้งแต่คลองใต้บ้านฝรั่งกุฎีจีน คลองขนอนเข้าไปวัดพิชัยญาติ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง)
ท่านก็สร้างบ้านอยู่ในบริเวณของตระกูลบุนนาคตรงนี้ แล้วสร้างบ้านให้ลูกชายท่าน คือ บิดาของเจ้าคุณพระประยุรวงศ์อีกหลังหนึ่งต่อขึ้นมาด้านเหนือ แต่เรียกรวมที่ดินบริเวณนี้ว่า
'''บ้านสมเด็จฯ''' อันเป็นที่มาของชื่อโรงเรียนบ้านสมเด็จฯ เจ้าคุณพระประยุรวงศ์ท่านเข้ามาพักอาศัยอยู่ในบ้านนี้ตั้งแต่อายุได้ 2 ปี เป็นจุดเริ่มของความเกี่ยวพันระหว่างเจ้าคุณพระประยุรวงศ์กับโรงเรียนศึกษานารี ซึ่งได้มาแทนที่โรงเรียนบ้านสมเด็จฯ จนเกิดอาคารเรียนขึ้นมาหลังหนึ่งชื่อว่า “เรือนเจ้าคุณพระประยุรวงศ์บูรณะ“ หรือเรียกสั้นๆว่า “เรือนเจ้าคุณ” ซึ่งนับเป็นอาคารหลังหนึ่งของโรงเรียนศึกษานารีนั่นเอง
เส้น 46 ⟶ 44:
โรงเรียนศึกษานารี ได้ชื่อว่าเป็นโรงเรียนสามสมเด็จ คือ
 
[[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม พุทธสรมหาเถระพุทฺธสโร)]] ผู้ให้กำเนิดโรงเรียนศึกษานารี
 
• [[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์]] (ช่วง บุนนาค)]] ผู้ประทานที่ดินที่ตั้งโรงเรียนศึกษานารี
 
• [[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]] นักเรียนเก่าโรงเรียนสตรีอุดมวิทยายน
 
== ศาลาพุทธสรานุสรณ์ ==
เป็นสถานที่ประดิษฐานพระพุทธรูปประจำโรงเรียน และประดิษฐานรูปเหมือนของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม พุทธสรมหาเถระ) เจ้าอาวาสวัดอนงคารามรูปที่ 6 ผู้ก่อตั้งโรงเรียนศึกษานารี เป็นสถานที่ศักสิทธิ์
เป็นที่เคารพบูชาของครู ผู้ปกครองและนักเรียนโรงเรียนศึกษานารี สร้างขึ้นในโอกาสครบรอบ 84 ปี แห่งการก่อตั้งโรงเรียนศึกษานารี เมื่อปี พ.ศ. 2530
และประดิษฐานรูปเหมือนของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม พุทธสรมหาเถระ)
เจ้าอาวาสวัดอนงคารามรูปที่ 6 ผู้ก่อตั้งโรงเรียนศึกษานารี เป็นสถานที่ศักสิทธิ์
เป็นที่เคารพบูชาของครู ผู้ปกครองและนักเรียนโรงเรียนศึกษานารี
สร้างขึ้นในโอกาสครบรอบ 84 ปี แห่งการก่อตั้งโรงเรียนศึกษานารี เมื่อปี พ.ศ. 2530
 
== สัญลักษณ์ของโรงเรียน ==
เส้น 138 ⟶ 133:
== ศิษย์เก่า ==
* [[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]] <ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/M10-00/kmother/chap/chap.htm</ref>
* [[ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ]] <ref>http://www.moe.go.th/pornnipa/index.html</ref>
* [[แสงเดือน แม้นวงศ์]] <ref>http://www.mthai.com/webboard/7/98262.html</ref>
* [[ปริศนา กล่ำพินิจ]]
เส้น 165 ⟶ 159:
 
{{เรียงลำดับ|ศึกษานารี}}
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในกรุงเทพมหานครเขตธนบุรี]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนสตรีในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนที่มีอายุเกิน 100 ปีในประเทศไทย|ศ]]
[[หมวดหมู่:เขตธนบุรี]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนมาตรฐานสากล]]