ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันออกพรรษา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Specialitar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Pu pan.jpg|left|170px|thumb|เมื่อออกพรรษาแล้วพระสงฆ์ผู้อยู่จำครบพรรษาจะได้รับอานิสงส์พรรษาหลายอย่าง และพระสงฆ์บางส่วนจะถือโอกาสในช่วงออกพรรษา 9 เดือน [[ธุดงค์|ออกจาริกเพื่อปฏิบัติธรรม]] และโปรดพุทธศาสนิกชนตามสถานที่ต่าง ๆ ก่อนจะกลับเข้าจำพรรษาอีกครั้งในปีถัดไป]]
{{ใช้ปีพศ}}
'''"วันออกพรรษา'''" หรือ '''[["วันปวารณาออกพรรษา'''"]] เป็น[[วันสำคัญ]]ทาง[[พุทธศาสนา]]วันหนึ่งในประเทศไทย เนื่องจากเป็นวันสิ้นสุด[[วันเข้าพรรษา|ระยะเวลาจำพรรษา 3 เดือน]]ของพระสงฆ์[[เถรวาท]] โดยเป็นวันที่พระสงฆ์จะทำ[[สังฆกรรม]][[ปวารณา]]ออกพรรษาในวันนี้ [[วันออกพรรษา]]ตามปกติ (ออกปุริมพรรษา{{fn|1}}) จะตรงกับ[[วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11]] (ประมาณ[[เดือนตุลาคม]]) หลังวันเข้าพรรษา 3 เดือน ตาม[[ปฏิทินจันทรคติไทย]]
 
การออกพรรษานั้น ถือเป็นข้อปฏิบัติตาม[[พระวินัย]]สำหรับพระสงฆ์โดยเฉพาะ เรียกว่า "[[ปวารณา]]"<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ '''"วิธีปวารณา'''". พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงแหล่งข้อมูลได้จาก http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=4&A=6371&Z=6395&pagebreak=0. เข้าถึงเมื่อ 3-10-52</ref> จัดเป็นญัตติกรรมวาจา[[(สังฆกรรม)]]ประเภทหนึ่ง ที่ถูกกำหนดโดย[[พระวินัยบัญญัติ]]ให้โอกาสแก่พระสงฆ์ที่จำพรรษาอยู่ร่วมกันตลอดไตรมาสสามารถว่ากล่าวตักเตือนและชี้ข้อบกพร่องแก่กันและกันได้โดยเสมอภาค ด้วยจิตที่ปรารถนาดีซึ่งกันและกัน เพื่อสามารถให้พระสงฆ์ที่ถูกตักเตือนมีโอกาสรับรู้ข้อบกพร่องของตนและสามารถนำข้อบกพร่องไปแก้ไขปรับปรุงตัวให้ดียิ่งขึ้น
 
เมื่อถึงวันออกพรรษา พุทธศาสนิกชนถือเป็นโอกาสอันดีที่จะเข้าวัดเพื่อบำเพ็ญกุศลแก่พระสงฆ์ที่ตั้งใจจำพรรษาและตั้งใจปฏิบัติธรรมมาตลอดจนครบ[[ไตรมาสพรรษากาล]] (3 เดือน)ในวันนี้ และวันถัดจากไปเป็นวันออกพรรษา 1 (วันขึ้น (แรม 115 ค่ำ เดือน 11) พุทธศาสนิกชนในประเทศไทยยังนิยมไปทำบุญตักบาตรครั้งใหญ่ เรียกว่า [[ตักบาตรเทโว]] หรือ ตักบาตรเทโวโรหณะ เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในพุทธประวัติที่กล่าวว่า "ในวันถัดจากวันครบไตรมาสพรรษา เป็นวันออกพรรษาหนึ่ง 275 วัน ในวันที่ 1 หลังจากวันครบไตรมาสพรรษา[[พระพุทธเจ้า]]ได้เสด็จลงจากเทวโลกลงมายังโลกา เสด็จกลับจากการโปรดพระพุทธมารดา[[พระนางสิริมหามายา]]บน[[สวรรค์ชั้นดาวดึงส์]] (สวรรค์ชั้น 3) ใน[[พระพรรษาที่ 7]] เพื่อเสด็จลงมายัง[[เมืองสังกัสสนคร]]<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑ ขุททกนิกาย มหานิทเทส '''"สาริปุตตสุตตนิทเทสที่ ๑๖'''". พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงแหล่งข้อมูลได้จาก http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=29&A=10137. เข้าถึงเมื่อ 3-10-52</ref>พร้อมกับ[[ทรงแสดงโลกวิวรณปาฏิหาริย์รณปาฏิหาริย์]]เปิดโลกไตรโลกา ทั้งสามด้วย<ref>[[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]]. (2548). '''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด'''. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียงเพียรเพื่อพุทธศาสน์.</ref>
 
นอกจากนี้ ช่วงเวลาออกพรรษาตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำเดือน 11 ถึง วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ถือเป็นเวลา[[กฐิน]]กาลตามพระวินัยปิฎกเถรวาท เป็นช่วงเวลาที่พุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเข้าร่วมบำเพ็ญกุศลเนื่องใน[[กฐิน|งานกฐินประจำปี]]ในวัดต่าง ๆ ด้วย โดยถือว่าเป็นงานบำเพ็ญกุศลที่ได้บุญกุศลมากงานหนึ่ง