ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยการปกครอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rachawat (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมรายละเอียด คณะกรรมการฯ โครงสร้าง ภารกิจ
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนเนื้อหาอาจละเมิดลิขสิทธิ์ หรือไม่เป็นสารานุกรม ไม่ใช่? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''วิทยาลัยการปกครอง''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Institute of Administration Development) เป็นสถาบันการฝึกอบรมข้าราชการฝ่ายพลเรือน ก่อตั้งเมื่อวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2483]] ในสมัย[[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]]เป็น[[รายชื่อนายกรัฐมนตรีของไทย|นายกรัฐมนตรี]] ในสมัยนั้นเรียกว่า "โรงเรียนข้าราชการฝ่ายปกครอง" รับนักศึกษาที่จบมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้ารับการฝึกอบรมเป็นเวลา 2 ปี โดยใช้[[พระตำหนักสุวัทนาวัทนา]]เป็นหอนอนของนักเรียน และ[[พระที่นั่งนงคราญสโมสร]]เป็นสถานที่ทำงานของเจ้าหน้าที่ มีการศึกษาวิชาที่ว่าด้วยลักษณะ[[กฎหมายอาญา]] หลักการจับกุม สืบสวน สอบสวนคดีอาญา ประวัติศาสตร์ จรรยาของนักปกครอง ขับรถยนต์ ขี่ม้า และยิงปืน เป็นต้น
'''วิทยาลัยการปกครอง'''
 
วิทยาลัยการปกครอง (อังกฤษ: Institute of Administration Development) เป็นสถาบันการฝึกอบรมข้าราชการฝ่ายพลเรือน ก่อตั้งเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ในสมัยนั้นเรียกว่า "โรงเรียนข้าราชการฝ่ายปกครอง" รับนักศึกษาที่จบมัธยมศึกษาปีที่ 6 เข้ารับการฝึกอบรมเป็นเวลา 2 ปี โดยใช้พระตำหนักสุวัทนาเป็นหอนอนของนักเรียน และพระที่นั่งนงคราญสโมสรเป็นสถานที่ทำงานของเจ้าหน้าที่ มีการศึกษาวิชาที่ว่าด้วยลักษณะกฎหมายอาญา หลักการจับกุม สืบสวน สอบสวนคดีอาญา ประวัติศาสตร์ จรรยาของนักปกครอง ขับรถยนต์ ขี่ม้า และยิงปืน เป็นต้น
ในเวลาต่อมาได้เปลี่ยนมารับผู้สำเร็จการศึกษาอนุปริญญา และปริญญาธรรมศาสตร์บัณฑิต เข้ามาเป็นปลัดอำเภอ โดยมีการพัฒนาขึ้นเป็นลำดับ ดังนี้
* [[พ.ศ. 2485]] ได้รับจัดตั้งเป็นแผนกโรงเรียน ใน[[กรมการปกครอง]]
* [[30 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2506]] จัดตั้ง โรงเรียนนายอำเภอ
* [[พ.ศ. 2512]] จัดตั้งสถาบันการศึกษา และฝึกอบรมพนักงานเทศบาล (เปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนข้าราชการส่วนท้องถิ่น ในปี [[พ.ศ. 2515]])
* [[15 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2514]] จัดตั้ง โรงเรียนปลัดอำเภอ
* [[3 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2515]] จัดตั้ง วิทยาลัยการปกครอง โดยรวมเอาหน่วยงานต่าง ๆ ข้างต้นเข้ามารวมไว้ด้วยกัน
 
ปัจจุบันวิทยาลัยตั้งอยู่ที่ หมู่ 2 ตำบลรังสิต [[อำเภอธัญบุรี]] [[จังหวัดปทุมธานี]] 12110 อธิการวิทยาลัย คือ นายรณรงค์ นครจินดา
'''โครงสร้างการบริหารงานของวิทยาลัยการปกครอง'''
 
วิทยาลัยการปกครอง เป็นหน่วยงานที่ขึ้นตรงกับกรมการปกครอง แต่มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจาก สำนักและกองต่าง ฯ ตรงที่มีความเป็นสถาบันด้านการให้การศึกษาอบรมแก่บุคลากรของกรมการปกครอง ทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น ตลอดจนองค์กรประชาชนต่าง ฯ
ดังนั้น คณะรัฐมนตรี จึงมีมติแต่งตั้ง คณะกรรมการวิทยาลัยการปกครองขึ้น เพื่อกำกับ ดูแล และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารขึ้น เพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานของวิทยาลัยการปกครอง ดังนี้
 
'''1. คณะกรรมการวิทยาลัยการปกครอง''' คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่23 สิงหาคม 2526 ปรับปรุง และแต่งตั้งคณะกรรมการวิทยาลัยการปกครอง ประกอบด้วย
 
'''1.1 คณะกรรมการโดยตำแหน่ง'''
 
(1) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ประธานกรรมการ
(2) ปลัดกระทรวงมหาดไทย รองประธานกรรมการ
(3) เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน หรือผู้แทน กรรมการ
(4) เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือผู้แทน กรรมการ
(5) ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ หรือผู้แทน กรรมการ
(6) รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (ฝ่ายปกครอง) กรรมการ
(7) อธิบดีกรมวิเทศสหการ หรือผู้แทน กรรมการ
(8) อธิบดีกรมการปกครอง กรรมการ
(9) ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผนมหาดไทย กรรมการ
(10) ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี กรรมการ
(11) นายกสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย กรรมการ
(12) รองอธิบดีกรมการปกครอง (ฝ่ายราชการบริหารส่วนท้องถิ่น) กรรมการ
(13) อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หรือผู้แทน กรรมการ
(14) อธิการวิทยาลัยการปกครอง กรรมการและเลขานุการ
(15) รองอธิการวิทยาลัยการปกครอง (ฝ่ายวิชาการ)กรรมการและ ผู้ช่วยเลขา ฯ
(16) รองอธิการวิทยาลัยการปกครอง (ฝ่ายบริหารการฝึกอบรม) กรรมการและผู้ช่วยเลขา ฯ
 
''' 1.2 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ''' มาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 4 ท่าน
 
'''2. คณะกรรมการบริหารวิทยาลัยการปกครอง''' รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในฐานะประธานกรรมการบริหารวิทยาลัยการปกครอง ได้มีคำสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 682/2533 ลงวันที่15 พฤศจิกายน 2533 ปรับปรุงและแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยการปกครองขึ้น เพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานของคณะกรรมการวิทยาลัยการปกครอง ประกอบด้วย
 
(1) รองปลัดกระทรวงมหาดไทย (ฝ่ายบริหาร) ประธานกรรมการ
(2) อธิบดีกรมการปกครอง รองประธานกรรมการ
(3) รองอธิบดีกรมการปกครอง (ฝ่ายบริหารราชการทั่วไป) กรรมการ
(4) อธิการวิทยาลัยการปกครอง กรรมการ
(5) รองอธิการวิทยาลัยการปกครอง (ฝ่ายวิชาการ) กรรมการ
(6) รองอธิการวิทยาลัยการปกครอง (ฝ่ายบริหารการฝึกอบรม) กรรมการ
(7) ผู้อำนวยการพัฒนาการเมืองและการปกครองสำนักนโยบายและแผนมหาดไทย กรรมการ
(8) หัวหน้าสำนักอธิการวิทยาลัยการปกครอง กรรมการและเลขานุการ
 
'''ภารกิจของวิทยาลัยการปกครอง'''
 
วิทยาลัยการปกครอง มีอํานาจหน้าที่ ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๙ ดังต่อไปนี้
(๑) ดําเนินการเกี่ยวกับการฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ของกรม รวมทั้งพนักงานฝ่ายปกครอง
(๒) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมาย
 
'''สัญลักษณ์ของวิทยาลัยการปกครอง'''
 
สัญลักษณ์ของวิทยาลัยการปกครอง เป็นเข็มวิทยฐานะรูปดอกจันทร์นูน 8 แฉก มีรูปสิงห์อยู่ตรงกลาง เปรียบได้กับ มรรค 8 อันเป็นหลักธรรมของนักปกครอง คือ ความเห็นชอบ ดำริชอบ เจรจาชอบ ทำงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ เพียรชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ
 
'''คำขวัญของวิทยาลัยการปกครอง'''
 
คำขวัญของวิทยาลัยการปกครอง สำหรับผู้เข้าอบรมที่ได้มา ร่วมอยู่ ร่วมกิน ร่วมนอน ร่วมทำกิจกรรม ทุกคนจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันภายใต้คำขวัญว่า เรียบ ง่าย ประหยัด สามัคคี มีวินัย ช่วยตนเอง
 
'''สถานที่ฝึกอบรมของวิทยาลัยการปกครอง'''
 
สถานที่ฝึกอบรมของวิทยาลัยการปกครอง ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 2 ตำบลรังสิต ถนนรังสิต – นครนายก (คลอง 6) อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 ประกอบด้วย
1. วิทยาลัยการปกครอง อำเภอธัญบุรี มีอาคารฝึกอบรม 4 อาคาร ๆ ได้แก่ โรงเรียนนายอำเภอ โรงเรียนข้าราชการฝ่ายปกครอง โรงเรียนสืบสวนสอบสวนพนักงานฝ่ายปกครอง และโรงเรียนปลัดอำเภอโดยชั้นบนเป็นที่พัก ชั้นล่างเป็นสำนักงาน ห้องบรรยายและห้องกิจกรรม นอกจากนี้ยังมีโรงเรียนที่อาศัยพื้นที่อาคารภายในวิทยาลัยการปกครองอีก 2 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และสถาบันพัฒนาวิชาชีพการทะเบียนสำหรับเป็นที่ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ และนอกจากอาคารฝึกอบรมแล้วยังมีอาคารอื่น ๆ ที่ช่วยสนับสนุนการฝึกอบรม เช่นอาคารสำนักอธิการ อาคารศูนย์เทคโนโลยีการฝึกอบรม หอพระพุทธสีหภูมิบาล อาคารโรงอาหาร อาคารสโมสรวิทยาลัยการปกครอง โรงยิมเนเซี่ยม และสนามกีฬาหลายชนิด สามารถรองรับผู้เข้าอบรม ข้าราชการ และประชาชนที่สนใจค้นคว้าหาความรู้ และการออกกำลังกาย
2. ศูนย์การเรียนรู้และฝึกอบรมภาค ประกอบด้วย 4 ศูนย์
3.1 ศูนย์การเรียนรู้และฝึกอบรมภาคเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
3.2 ศูนย์การเรียนรู้และฝึกอบรมภาคเหนือ อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน
3.3 ศูนย์การเรียนรู้และฝึกอบรมภาคกลาง อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
3.4 ศูนย์การเรียนรู้และฝึกอบรมภาคใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
'''ผู้บริหาร'''
 
อธิการวิทยาลัยการปกครองคนปัจจุบัน คือ '''นายรณรงค์ นครจินดา'''
 
 
The institute of Administration Development founded on June 24, 1940. It was formerly named “The Government Administration Officials School” which was under the umbrella of the Department of Local Administration After a major reorganization took place in the department Resulting in the establishment of a training division responsible for planning and operating of Training programs. The training division has developed into the Academy within the Department in 1972. Many schools were set up within the Academy such as District Chief Officers School in 1963. Local Government Administrative School in 1972. Deputy District Chief Officers School in 1974 etc.
Presently, the Academy is well-known at the nation wide as the oldest training institute for civil service officers in Thailand with a long and continuous history of more than one half century. It’s name had changed to “The Institute of Administration Development” or “IAD” in short in 1975 which was used up to lately.
 
IAD’S Objectives and Responsibilities Objectives
 
- To Provide pre-services training and in-service training for government officials.
- To enrich knowledge and skills along with positive attitudes and right values of trainees.
- To stimulate trainees in improving and developing management skills for their.
Responsibilities
 
IAD’s major roles involve human resources development : academically, Practically and along with ethics and merits of governing officers which focused in
1. Responsibility in development of DOPA’s personnel.
2. Conduct researches and development of both academical knowledge and performance system in order to make improvement and attain highest quality of services for people.
 
Mental Enhancement Program Along with effective academic and health development program, the IAD also emphasizes in mental enhancement through religion and practices. A Chapel so called “Hor Pra Buddha Siha Bhumibarn” has been built to serve as center for religious practice. The Program includes preaching and prayer once a week, students are encouraged to elm the monks hoping that this good deed will create merits and ethics and finally will enhance the mental ability for all students. The official logo of IAD, Star-shaped with eight spokes Symboizes 8 paths to enlightenment in Buddhism teaching :
 
1. Right Vision
2. Right Thought
3. Right Speech
4. Right Action
5. Right Way of Life
6. Right Deligence
7. Right Consciousness
8. Right Consistency
== แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://www.iadopa.org เว็บไซต์วิทยาลัยการปกครอง]
 
{{กระทรวงมหาดไทย}}