ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สื่อส่งผ่านสัญญาณต่อเนื่อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
ศัพท์ "สื่อแบบส่งต่อเนื่อง" สามารถใช้กับสื่ออื่น ๆ นอกเหนือจากวีดิทัศน์และข้อมูลเสียง เช่น [[คำบรรยายแบบซ่อนได้]]สด, [[ทิกเกอร์เทป]] และ[[ข้อความสด]] (real-time text) ซึ่งเราถือว่าทั้งหมดเป็น "ข้อความแบบส่งต่อเนื่อง" อนึ่ง วลี "แบบส่งต่อเนื่อง" ได้รับการนำมาใช้เป็นครั้งแรกในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 เนื่องจากเป็นคำอธิบายที่ดีกว่าสำหรับ[[วีดิทัศน์ตามคำขอ]]บนเครือข่าย[[อินเทอร์เน็ตโพรโทคอล|ไอพี]] โดยในขณะนั้นวีดิทัศน์รูปแบบดังกล่าวมักถูกเรียกว่า "วีดิทัศน์แบบเก็บข้อมูลแล้วส่งต่อ" (store and forward video)<ref>{{cite web| url = http://ieeexplore.ieee.org/xpl/login.jsp?tp=&arnumber=188525&url=http%3A%2F%2Fieeexplore.ieee.org%2Fiel2%2F536%2F4777%2F00188525.pdf%3Farnumber%3D188525| title = On buffer requirements for store-and-forward video on demand service circuits | accessdate =| publisher = [[IEEE]]}}</ref> ซึ่งเป็นการตั้งชื่อที่อาจทำให้เข้าใจผิดได้
 
'''การส่งต่อเนื่องสด''' ({{lang|en|live streaming}}) ซึ่งสื่อถึงการส่งมอบเนื้อหาผ่าน[[อินเทอร์เน็ต]]ตามเวลาจริงนั้นจำเป็นต้องใช้สื่อต้นทางรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง (เช่น กล้องวีดิทัศน์, ตัวต่อประสานเสียง, ซอฟต์แวร์จับภาพหน้าจอ), ตัวเข้ารหัสเพื่อแปลงเนื้อหาเป็นดิจิทัล, ตัวจัดพิมพ์สื่อ และ[[เครือข่ายการส่งมอบเนื้อหา]] (content delivery network) เพื่อแจกจ่ายและส่งเนื้อหา ตัวอย่างโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้ในปัจจุบันมีแอป หรือ โปรแกรมมที่ใช้ การส่งต่อเนื่องสด เช่น เฟซบุ๊กไลฟ์, Facebook live Bigo liveบีโกไลฟ์ เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==