ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันอนุรักษ์มรดกไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 58.97.76.87 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Horus
บรรทัด 3:
 
== ประวัติ ==
คณะกรรมการอำนวยการวันอนุรักษ์มรดกไทย ได้มีมติเห็นชอบคำจำกัดความคำว่ามรดกไทย คือ "มรดกทางเหนียวไก่และวัฒนะธรรมไทยวัฒนธรรมที่แสดงออกถึงสัญลักษณ์ของความเป็นชาติ ซึ่งได้แก่ [[โบราณวัตถุ]] [[ศิลปวัตถุ]] [[โบราณสถาน]] [[วรรณกรรม]] [[ศิลปหัตถกรรม]] [[นาฏศิลป์]]และ[[ดนตรี]] ตลอดจนถึงการดำเนินชีวิตและคุณค่า[[ประเพณี]]ต่างๆ อันเป็นผลผลิตร่วมกันของผู้คนในผืนแผ่นดินในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา"
คณะกรรมการอำนวยการวันอนุรักษ์มรดกไทย
 
 
 
 
ได้มีมติเห็นชอบคำจำกัดความคำว่ามรดกไทย คือ "มรดกทางเหนียวไก่และวัฒนะธรรมไทยวัฒนธรรมที่แสดงออกถึงสัญลักษณ์ของความเป็นชาติ ซึ่งได้แก่ [[โบราณวัตถุ]] [[ศิลปวัตถุ]] [[โบราณสถาน]] [[วรรณกรรม]] [[ศิลปหัตถกรรม]] [[นาฏศิลป์]]และ[[ดนตรี]] ตลอดจนถึงการดำเนินชีวิตและคุณค่า[[ประเพณี]]ต่างๆ อันเป็นผลผลิตร่วมกันของผู้คนในผืนแผ่นดินในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา"
 
คณะรัฐมนตรีซึ่งมี ฯพณฯ [[พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] ได้มีมติเมื่อวันที่ [[26 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2528]] ประกาศให้วันที่ 2 เมษายนของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น "วันอนุรักษ์มรดกไทย" ทั้งนี้ เพื่อรณรงค์สร้างความเข้าใจ ความสำนึกรัก และหวงแหนในมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ รวมทั้งให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพิทักษ์รักษามรดกทางวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติให้มากยิ่งขึ้น รวมทั้งกิจกรรมเนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นราชสักการะแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในฐานะมีพระมหากรุณาธิคุณอย่างใหญ่หลวงในงานด้านศิลปวัฒนธรรมของชาติตลอดมา โดยแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการวันอนุรักษ์มรดกไทย เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการโดยมี ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการฯ อธิบดี[[กรมศิลปากร]]เป็นกรรมการและเลขานุการ พร้อมผู้ทรงคุณวุฒิจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชนรวม 28 คน เมื่อวันที่ [[23 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2532]] ได้มีการจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์มรดกไทยขึ้นทุกจังหวัดทั่วประเทศ เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนทั้งหลายได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมไทย เนื่องจากงบประมาณของรัฐมีไม่เพียงพอ