ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
หนังสือ[[ปทานุกรม]]จัดจำหน่ายในปี [[พ.ศ. 2470]] จัดทำโดย[[กระทรวงธรรมการ]] (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น[[กระทรวงศึกษาธิการ]]) เป็นหนังสือรวบรวมคำในภาษาไทยพร้อมอธิบายความหมาย แต่ยังมีข้อบกพร่องอยู่ กระทรวงธรรมการจึงได้จัดตั้งคณะกรรมการชำระปทานุกรมขึ้นเมื่อวันที่ [[29 กันยายน]] [[พ.ศ. 2475]]<ref name="หน้า ธ">ราชบัณฑิตยสถาน. ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.'' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า ธ.</ref> เพื่อพิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมปทานุกรมดังกล่าว ภายหลังได้มีการสถาปนา[[ราชบัณฑิตยสถาน]]เมื่อ [[พ.ศ. 2477]] จึงได้โอนงานจากคณะกรรมการชำระไปอยู่ในราชบัณฑิตยสถาน และเปลี่ยนชื่อจาก '''ปทานุกรม''' เป็น '''พจนานุกรม''' เนื่องจากเห็นว่าชื่อเดิมมีความหมายไม่ตรงกับลักษณะของหนังสือ<ref name="หน้า น">ราชบัณฑิตยสถาน. ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.'' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า น.</ref>
 
== ฉบับต่าง ๆ ==
== ประวัติการพิมพ์ ==
* '''[[ปทานุกรม พ.ศ. 2470]]'''
* '''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493]]''' ใช้เวลาปรับปรุงตั้งแต่ [[พ.ศ. 2475]]–[[พ.ศ. 2493|2493]]<ref name="หน้า น"/> พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2493 ตีพิมพ์ทั้งหมด 20 ครั้ง จำนวนทั้งสิ้น 187,000 เล่ม
* '''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525]]''' ใช้เวลาปรับปรุงตั้งแต่ [[พ.ศ. 2520]]–[[พ.ศ. 2525|2522]]<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.'' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า ต.</ref><ref>ราชบัณฑิตยสถาน. ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.'' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า ถ.</ref> จัดพิมพ์เนื่องใน[[งานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์]] 200 ปี พ.ศ. 2525 ตีพิมพ์ทั้งหมด 6 ครั้ง จำนวนทั้งสิ้น 280,000 เล่ม
* '''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542]]''' มีคำศัพท์ประมาณ 37,000 คำ<ref name="ผู้จัดการออนไลน์">{{cite web|publisher=ASTVผู้จัดการออนไลน์|url=http://www.manager.co.th/CelebOnline/ViewNews.aspx?NewsID=9570000033750|title=นานมีบุ๊คส์ชวนคนไทย มีพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ติดบ้านไว้เป็นคู่มือ|date=27 มีนาคม 2557|accessdate=28 สิงหาคม 2559}}</ref> เริ่มปรับปรุงเมื่อใดไม่ปรากฏ แต่ราชบัณฑิตยสถานตั้งใจจะจัดพิมพ์ในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ [[พ.ศ. 2542]] แต่มิได้แล้วเสร็จในเวลาดังกล่าว ทว่าในที่สุดได้ปรับปรุงสำเร็จราว [[พ.ศ. 2544]] โดยยังคงเรียกว่าฉบับ พ.ศ. 2542 พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ [[พ.ศ. 2546]] จำนวน 200,000 เล่ม
* '''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]]''' เริ่มปรับปรุงตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2546]]<ref name="หน้า ก">ราชบัณฑิตยสถาน. ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.'' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า ก.</ref> แล้วเสร็จประมาณปี [[พ.ศ. 2555]]<ref name = "2011 edition">{{cite web | url = http://www.royin.go.th/upload/246/FileUpload/2045_2393.pdf |title=ราชบัณฑิตยสถานจัดทำพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ | publisher = ราชบัณฑิตยสถาน | date = 2555 | accessdate = 1 ตุลาคม 2555}}</ref> พิมพ์ครั้งแรกเพื่อแจกจ่ายหน่วยงานราชการและสถานศึกษาเมื่อปี [[พ.ศ. 2556]] จำนวน 100,000 เล่ม
 
=== พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ===
คณะกรรมการชำระพจนานุกรม แห่งราชบัณฑิตยสถาน ได้เริ่มปรับปรุงพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน มาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2546]]<ref name="หน้า ก">ราชบัณฑิตยสถาน. ''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.'' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า ก.</ref> โดยนอกจากจะแก้ไขตัวสะกดและบทนิยามของคำศัพท์ที่มีอยู่ในพจนานุกรมฉบับก่อน ๆ แล้ว คณะกรรมการฯ ยังได้เพิ่มเติมบทนิยามคำศัพท์ทั่วไปและคำภาษาปากจำนวนหนึ่งซึ่งมีใช้ในภาษาไทยและเป็นที่รู้จักแพร่หลาย แต่ยังไม่เคยปรากฏในพจนานุกรม เช่น เครื่องดื่ม แซ็ว ตลาดนัดแรงงาน ตัดต่อ ตัวสำรอง ผัดฉ่า วัตถุมงคล สปา ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น รวมทั้งคำศัพท์จากสาขาวิชาที่มีความสำคัญ ได้แก่ ศัพท์พรรณพืช ศัพท์พรรณสัตว์ ศัพท์ประวัติศาสตร์ ศัพท์กฎหมายไทย ศัพท์ดนตรีไทย ศัพท์ดนตรีสากล และราชาศัพท์ และคำที่[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ทรงใช้ในการพัฒนาเรื่องดิน น้ำ ป่าไม้ เช่น [[กังหันน้ำชัยพัฒนา]] [[แก้มลิง]] [[แกล้งดิน]] [[โครงการตามพระราชดำริ]] [[ทฤษฎีใหม่]] เป็นต้น<ref name="หน้า ก"/> ทำให้พจนานุกรมฉบับล่าสุดนี้มีคำศัพท์รวมประมาณ 39,000 คำ<ref name="ผู้จัดการออนไลน์"/>
 
ในปี [[พ.ศ. 2555]] กนกวลี ชูชัยยะ เลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน ได้แถลงข่าวว่า ราชบัณฑิตยสถานได้ชำระพจนานุกรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว และรัฐบาลของ[[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]] ได้สนับสนุนงบประมาณจัดพิมพ์ครั้งแรกจำนวน 100,000 เล่ม เพื่อนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว [[สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ]] และพระบรมวงศานุวงศ์ ตลอดจนแจกจ่ายสถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา หน่วยงานราชการ คณะรัฐมนตรี สมาชิกรัฐสภา และสื่อมวลชน และจะคัดเลือกให้เอกชนเข้ามาใช้สิทธิ์ในการจัดพิมพ์และจำหน่ายฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 ต่อไป<ref name = "2011 edition">{{cite web | url = http://www.royin.go.th/upload/246/FileUpload/2045_2393.pdf |title=ราชบัณฑิตยสถานจัดทำพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ | publisher = ราชบัณฑิตยสถาน | date = 2555 | accessdate = 1 ตุลาคม 2555}}</ref> แม้ว่าพจนานุกรมฉบับนี้จะได้รับการจัดพิมพ์ในปี [[พ.ศ. 2556]] แต่ก็ใช้ชื่อว่า '''''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔''''' เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 และเพื่อเป็นการเผยแพร่พระเกียรติคุณและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ที่ทรงห่วงใยการใช้ภาษาไทยของคนไทยในปัจจุบัน<ref name="หน้า ก"/>
 
ในวันที่ [[27 พฤษภาคม]] พ.ศ. 2556 ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้ออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีให้ยกเลิกระเบียบการใช้ตัวสะกดตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 และให้ใช้ตัวสะกดตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เป็นมาตรฐานการเขียนหนังสือไทยในวงราชการและวงการศึกษาแทน โดยลงเผยแพร่ใน[[ราชกิจจานุเบกษา]]เมื่อวันที่ [[13 กรกฎาคม]] พ.ศ. 2556<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=130|issue=พิเศษ 71 3|pages=4|title=ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ระเบียบการใช้ตัวสะกด|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/E/071/4.PDF|date=13 มิถุนายน 2556|language=}}</ref>
 
ต่อมาราชบัณฑิตยสถานได้เปิดให้ทดสอบระบบพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 แบบออนไลน์ตั้งแต่วันที่ [[24 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2557]]<ref>{{cite web|publisher = ราชบัณฑิตยสถาน|url=https://www.facebook.com/206167399441363/photos/a.397151803676254.94819.206167399441363/789794367745327/?type=1&theater|title=ราชบัณฑิตยสถานเปิดให้ทดสอบระบบพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ที่ http://www.royin.go.th/dictionary/|date=24 ตุลาคม 2557|accessdate=28 สิงหาคม 2559}}</ref> และเปิดให้ดาวน์โหลด[[โปรแกรมประยุกต์]]พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 สู่[[โทรศัพท์เคลื่อนที่]]แบบ[[สมาร์ตโฟน]]ตั้งแต่วันที่ [[21 กันยายน]] [[พ.ศ. 2558]]<ref>{{cite web|publisher = สำนักงานราชบัณฑิตยสภา|url=http://www.royin.go.th/?p=12376|title=ภาษาไทยใช้ง่ายแค่ปลายนิ้ว ด้วย “ราชบัณฑิตยฯ โมไบล์” พร้อมให้ดาวน์โหลดแล้ววันนี้ ทั้งในระบบ iOS Android และ Windows Mobile|date=21 กันยายน 2558|accessdate=28 สิงหาคม 2559}}</ref>
 
== อ้างอิง ==