ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พัก จ็อง-ฮี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kkaann (คุย | ส่วนร่วม)
Kkaann (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 52:
 
==ชีวิตทางการเมือง==
[[อี ซึง-มัน]] ประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐเกาหลีถูกบังคับให้ออกลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1960 จากเหตุการณ์เคลื่อนไหว ใน 19 เมษายน 1960 การจลาจลที่นำโดยนักศึกษา
ในขณะที่เศรษฐกิจ ของประเทศกำลังย่ำแย่จากการทุจริต นักศึกษาได้ออกมาทำการขับไล่ อี ซึงมัน มีการประท้วงตามท้องถนน กับข้อเรียกร้องที่หลากหลาย ข้อเรียกร้อง หลักๆคือการปฏิรูปทางการเมือง รวมถึงเศรษฐกิจ และกฎหมาย โดยที่ตำรวจถูกใช้เครื่องมือของรัฐบาล อี ซึงมัน รัฐบาล ยุน ซึ่งปกครองประเทศภายหลังที่ได้เกิดเหตุการณ์ ประท้วงโค่นล้มรัฐบาลของประธานาธิบดี อี ซึงมัน โดยกลุ่มนักศึกษา และประชาชน โดย อี ซึงมัน ได้ลาออกจากตำแหน่งไป
 
ในเดือน กรกฎาคม ค.ศ. 1960 รัฐบาลรักษาการ โดย [[ยุน โบซอนโบ-ซ็อน]] เข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีคนที่ 2 แห่งสาธารณรัฐเกาหลีเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1960 แต่เป็นเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ของการปกครองในรัฐสภาสาธารณรัฐเกาหลีโดย ยุน โบซอน สาเหตุที่ ยุน ต้องลงจากอำนาจในการบริหารประเทศอย่างรวดเร็ว คือ เนื่องจากเขาไม่สนใจในความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ ในพรรคการเมืองที่เขาสังกัดอยู่ในสังกัด แถมและยังกระหายในความเผด็จการและการทุจริต โดยรัฐบาล ของยุน มีการสับเปลี่ยนตำแหน่งคณะรัฐมนตรีถึง 3 ถึงสามครั้งภายในห้าเดือนระยะเวลาเพียง รัฐบาล5 ยุนเดือน ซึ่งปกครองประเทศภายหลังที่ได้เกิดเหตุการณ์ ประท้วงโค่นล้มรัฐบาลของประธานาธิบดี อี ซึงมัน โดยกลุ่มนักศึกษา และประชาชน โดย อี ซึงมัน ได้ลาออกจากตำแหน่งไป
โดยรัฐบาล ยุน โบซอน ได้ถูกฝ่ายทหาร "พลตรี ปาร์คจุงฮี" นำทหารทำรัฐประหาร (เรียกว่าการปฏิวัติ 5.16) ในวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ 1961 ได้รับการต้อนรับโดยประชาชนส่วนใหญ่ หมดความวุ่นวายทางการเมือง แม้ว่าจะมีการต่อต้านอยู่บ้างประปราย จนเป็นผลให้นาย อี ซึงนัม ออกไปลี้ภัยยังต่างประเทศ ส่วน ยุน โบซอน ยังคงทำงานบริหารอยู่เพื่อให้ถูกต้องตามหลักกฎหมายของระบอบการปกครอง แต่ลาออกเดือนมีนาคม 1962 ปาร์ค จุงฮี กลายเป็นผู้มีอำนาจที่แท้จริง ในฐานะประธานสภาสูงสุด เพื่อการฟื้นฟูแห่งชาติที่มียศนายพล ในขณะเดียวกันแรงกดดันจากการบริหารงานของ ประธานาธิบดี John f Kennedy แห่งสหรัฐอเมริกา ซึ่งสนับสนุนรัฐบาลพลเรือน ในการเลือกตั้งปีค.ศ.1963
 
ปาร์ค ชนะการเลือกตั้งอย่างเฉียดฉิว โดยปาร์ค มีคะแนนนำคู่แข่งเพียง แค่ 1.5% เท่านั้น และ ปาร์ค ยังชนะการเลือกตั้งอีกครั้งใน ปี ค.ศ.1967
โดยรัฐบาล ของยุน โบซอน ได้ถูกฝ่ายทหาร "โบ-ซ็อนสิ้นสุดลงเพราะเกิดการรัฐประหารซึ่งนำโดยพลตรี ปาร์ค จุงฮี" นำทหารทำรัฐประหาร (เรียกว่าการปฏิวัติ 5.16) ในวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ 1961 เรียกกันว่า "การปฏิวัติ 5.16" การกระทำรัฐประหารครั้งนี้ได้รับการต้อนรับโดยจากประชาชนส่วนใหญ่ หมดความวุ่นวายทางการเมืองยุติลง แม้ว่าจะมีการต่อต้านอยู่บ้างประปราย จนเป็นผลให้นาย อี ซึงนัม ออกไปลี้ภัยยังต่างประเทศ ส่วน ยุน โบซอน โบ-ซ็อนยังคงดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีทำงานบริหารอยู่ต่อไปเพื่อให้ถูกต้องตามหลักกฎหมายของระบอบการปกครอง แต่จนกระทั่งเขาลาออกเดือนเมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1962 ปาร์ค จุงฮี จึงกลายเป็นผู้มีอำนาจที่แท้จริง ในฐานะประธานสภาสูงสุด เพื่อการฟื้นฟูแห่งชาติที่มียศนายพล ในขณะเดียวกันนั้น ยังคงมีแรงกดดันจากการบริหารงานสหรัฐอเมริกาภายใต้รัฐบาลของ ประธานาธิบดี[[จอห์น Johnเอฟ. f Kennedy แห่งสหรัฐอเมริกาเคนเนดี]] ซึ่งมีท่าทีสนับสนุนรัฐบาลพลเรือน ในการเลือกตั้งปีค.ศ.1963
ในช่วงที่ ปาร์ค บริหารประเทศ ได้เกิดการแก้ไข รัฐธรรมนูญเป็นครั้งที่สามโดยให้มีการปรับเปลี่ยนมาใช้ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) โดยให้นายกรัฐมนตรีทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร ส่วนประธานาธิบดีที่ได้รับเลือก จากประชาชนทำหน้าที่เป็นเพียงประมุขของประเทศ และเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด ระบบรัฐสภาได้รับการนำมาใช้ในช่วงสั้นๆระหว่างเดือน สิงหาคม ค.ศ. 1960 – กรกฎาคม ค.ศ. 1961 เท่านั้น
 
ในการเลือกตั้งปี ค.ศ. 1963 ปาร์ค จุงฮีชนะการเลือกตั้งอย่างฉิวเฉียดฉิว โดยปาร์ค มีคะแนนนำคู่แข่งเพียง แค่ 1.5% เท่านั้น และ ปาร์ค เขายังชนะการเลือกตั้งอีกครั้งใน ปี ค.ศ. 1967
 
===การแก้ไขรัฐธรรมนูญ===
ในช่วงที่ ปาร์ค บริหารประเทศ ได้เกิดมีการแก้ไข รัฐธรรมนูญเป็นครั้งที่สาม 3 โดยให้มีการปรับเปลี่ยนมาใช้ระบบรัฐสภา (Parliamentary system) โดยให้นายกรัฐมนตรีทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร ส่วนประธานาธิบดีที่ได้รับเลือก เลือกตั้งจากประชาชนทำหน้าที่เป็นเพียงประมุขของประเทศ และเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด ระบบรัฐสภาดังกล่าวได้รับการนำมาใช้ในช่วงสั้นๆสั้น ๆ ระหว่างเดือน สิงหาคม ค.ศ. 1960 – กรกฎาคม ค.ศ. 1961 เท่านั้น
การแก้ไขครั้งที่สี่มีขึ้นในเดือน ธันวาคม ค.ศ. 1960 โดยได้เพิ่มบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญว่า ให้รัฐสภาออกกฎหมายเพิ่มการลงโทษต่อผู้ที่ทุจริตในการเลือกตั้ง และให้ลงโทษต่อผู้ที่รับผิดชอบ ที่สังหารและทำร้ายผู้ที่ทำการประท้วง เรื่องการทุจริตการเลือกตั้ง อนึ่งมีการกำหนดบทลงโทษ ต่อผู้ต่อต้านการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย และต่อข้าราชการที่ทำการคอร์รัปชั่น
การแก้ไขครั้งที่ห้า ได้กระทำขึ้นในยุครัฐบาลทหารรักษาการในปี ค.ศ. 1962 โดยได้กำหนดให้นำ ระบบประธานาธิบดี และการมีสภาเดี่ยว กลับมาใช้ดังเดิม
ในปี ค.ศ. 1969 มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่หก เป้าหมายหลักก็คือการขยายวาระของการดำรงตำแหน่ง เป็นประธานาธิบดีออกเป็น 3 วาระ ข้อกำหนดคราวนี้มีผลให้ประธานาธิบดี ปัก จุงฮี สามารถดำรงตำแหน่ง ติดต่อกัน จนวาระที่สามได้
อย่างไรก็ตาม การแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่เจ็ด ในปี ค.ศ. 1972 ได้เพิ่มข้อกำหนดให้ประธานาธิบดี สามารถอยู่ในตำแหน่งได้ตลอดชีวิต นั่นหมายถึงการยกเลิกการกำหนดวาระของการเป็นผู้นำประเทศนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อให้นายปัก จุงฮี สามารถดำรงตำแหน่งเป็นผู้นำประเทศตลอดไป อนึ่ง ได้กำหนดให้มีการเลือก ตั้งประธานาธิบดีโดยผ่านทางคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) หรือเรียกว่า เป็นการเลือกทางอ้อม นอกจากนี้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ยังเพิ่มอำนาจให้กับประธานาธิบดีมากขึ้น เช่น เป็นผู้แต่งตั้งสมาชิก รัฐสภาจำนวนหนึ่งในสามของสภาทั้งหมด สามารถยุบสภาได้ และสามารถประกาศภาวะฉุกเฉิน เพื่อสลายกลุ่มหรือบุคคลที่ทำการต่อต้านรัฐบาล
 
ปาร์ค จุงฮี กับการจัดตั้งองค์กรณ์เพื่อควบคุมในด้านต่างๆ
ปาร์ค จุงฮี กับการจัดตั้งองค์กรณ์เพื่อควบคุมในด้านต่างๆ การบริหารประเทศของ ปาร์ค ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ อย่างหนัก หนึ่งในกรณีที่มีชื่อเสียงมากที่สุด คือ การจัดเก็บภาษีด้วยกฎอัยการศึก นอกจากนี้ ปาร์คยังได้ทำการจัดตั้ง
สำนักข่าวกรองกลางเกาหลี (KCIA=Korea
Central Intelligence Agency) ถูกสร้างขึ้นเมื่อ 19 มิถุนายน ค.ศ.1961 ในสมัยของปาร์ค จุงฮี โดยมีต้นแบบมาจาก องค์กร CIA ของสหรัฐอเมริกา เพื่อป้องกันการต่อต้านการทำรัฐประหาร รัฐบาลของปาร์ค จุงฮี และปราบปรามศัตรูที่มีศักยภาพทั้งหมด ในประเทศและต่างประเทศ มีอำนาจสืบสวน และสามารถจับกุมกักขังทุกคน ที่สงสัยว่ามีการกระทำผิดกฎหมาย หรือเก็บงำความรู้สึกต่อต้านรัฐบาลทหาร ไม่เพียงเท่านั้นหน่วยข่าวกรองกลางขยายอำนาจของตน เพื่อกิจการทางเศรษฐกิจ และต่างประเทศ ภายใต้การสนับสนุน จาก ปาร์ค และดำเนินการองค์กรโดยผู้นำหน่วยคนแรก คิมจอง อิล (หลานเขยของปาร์ค) เป็นหนึ่งในนักวางแผนของการทำรัฐประหาร ในช่วงแรก องค์กร นี้มีหน้าที่เจรจาใน้กาหลีเหนือ ต่อมาเมื่ออำนาจของ ปาร์ค จุงฮี มากขึ้น KCIA ได้กลายมาเป็นองค์กรส่วนตัว ของประธานาธิบดี คอยสอดส่องดูแลและแทรกซึมเข้าไปในทุกวงการทั้งในและต่างประเทศ ในภายหลังองค์กรนี้ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "Agency for National Security Planning''