ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับให้ดีขึ้น
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Fertile Crescent map it.PNG|thumb| แผนที่แสดงเขต Fertile Crescent พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์เป็นสีแดง ]]
เขต '''Fertile Crescentพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์''' ({{lang-en|Fertile Crescent}}) ที่รู้จักกันโดยเป็นอู่อารยธรรม เป็นบริเวณรูปจันทร์เสี้ยวที่รวมแผ่นดินที่ชื้นและอุดมสมบูรณ์โดยเทียบกับบริเวณข้างเคียงใน[[เอเชียตะวันตก]]ที่เป็น[[ภูมิอากาศ|เขตกึ่งแห้งแล้ง]] และรวมบริเวณรอบ ๆ [[ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ]]และลุ่ม[[แม่น้ำไนล์]] เป็นบริเวณอยู่ติดกับเขตเอเชียน้อยหรือที่เรียกว่า[[อานาโตเลีย]] คำนี้เริ่มใช้ในการศึกษา[[ประวัติศาสตร์]]โบราณ แล้วต่อมาจึงกลายมาเป็นคำที่นิยมใช้ใน[[โลกตะวันตก]]แม้ในสาขาภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) และในเรื่องความสัมพันธ์ทางการทูต
 
ความหมายทั้งหมดที่มีของคำนี้ ล้วนรวมเขต[[เมโสโปเตเมีย]] คือผืนแผ่นดินรอบ ๆ แม่น้ำไทกริสและแม่น้ำยูเฟรทีส
บรรทัด 11:
 
== ประวัติศัพท์ ==
ศาสตราจารย์นัก[[มานุษยวิทยา]]แห่ง[[มหาวิทยาลัยชิคาโก]]ได้สร้างความนิยมกับคำว่า "Fertile Crescentพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์" เริ่มตั้งแต่หนังสือเรียนระดับ[[ไฮสกูล]]ที่เขาเขียนในปี 1914 และ 1916<ref name="Breasted 1914/1916">{{cite book |last = Abt |first = Jeffrey |year = 2011 |title = American Egyptologist: the life of James Henry Breasted and the creation of his Oriental Institute |location = Chicago |publisher = University of Chicago Press |isbn = 978-0-226-0011-04 |pages = <span class="plainlinks">[https://books.google.com/books?id=YEc0bc93LwYC&pg=PA193 193]</span>-<span class="plainlinks">[https://books.google.com/books?id=YEc0bc93LwYC&pg=PA194 194]</span>, <span class="plainlinks">[https://books.google.com/books?id=YEc0bc93LwYC&pg=PA436 436]</span>}}<br/>
{{cite book |last = Goodspeed |first = George Stephen |year = 1904 |title = A History of the ancient world: for high schools and academies |location = New York |publisher = Charles Scribner's Sons |pages = <span class="plainlinks">[https://books.google.com/books?id=vmubAAAAMAAJ&pg=PA5 5]-<span class="plainlinks">[https://books.google.com/books?id=vmubAAAAMAAJ&pg=PA6 6]</span>}}<br/>
{{cite book |last = Breasted |first = James Henry |year = 1914 |chapter = Earliest man, the Orient, Greece, and Rome |editor1-last = Robinson |editor1-first = James Harvey |editor2-last = Breasted |editor2-first = James Henry |editor3-last = Beard |editor3-first = Charles A. |title = Outlines of European history |url = https://archive.org/download/outlinesofeurope01robi/outlinesofeurope01robi.pdf |format = [[PDF]] |volume = 1 |location = Boston |publisher = Ginn |pages = 56-57}} "The Ancient Orient" map is inserted between pages 56 and 57.<br/>
บรรทัด 28:
[[จักรวรรดิอัสซีเรีย]]เป็นส่วนใหญ่ของตรงกลาง ในขณะที่ส่วนสุดของปีกตะวันออกคืออาณาจักร[[บาบิโลเนีย]]
 
ครึ่งวงกลมของแผ่นดินใหญ่นี้ เพราะว่ายังไม่มีชื่อ อาจเรียกได้ว่า Fertile Crescentพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์<sup>1</sup>
มันสามารถอุปมาเหมือนกับชายหาดของอ่าวทะเลทราย โดยมีภูเขาข้างหลังค้ำอยู่เหนือชายหาด เป็นอ่าวไม่ใช่ของน้ำแต่เป็นของทะเลทรายอันแห้งแล้ง อันกว้างประมาณ 500 [[ไมล์]] เป็นชายหาดส่วนสุดด้านเหนือของ[[ทะเลทรายอาหรับ]]และกว้างยืดไปทางทิศเหนือจนถึง[[ละติจูด]]มุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือแห่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
อ่าวทะเลทรายนี้เป็นที่ราบสูง[[หินปูน]] ซึ่งจริง ๆ สูงเกินกว่าที่จะได้น้ำจากแม่น้ำไทกริสและยูเฟรทีส ซึ่งวิ่งตัดเป็นหุบเขาเป็นแนวเฉียงผ่านมัน
อย่างไรก็ดี หลังจากแม้จะได้ฝนหน้าหนาวอย่างขาดแคลน แผ่นดินเป็นแถบกว้างของอ่าวทะเลทรายด้านเหนือก็จะปกคลุมไปด้วยหญ้าบาง ๆ และดังนั้น[[ฤดูใบไม้ผลิ]]ก็จะเปลี่ยนบริเวณนี้เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ให้เป็น[[ทุ่งหญ้า]]
ประวัติของเอเชียตะวันตกสามารถกล่าวได้ว่า เป็นการต่อสู้กันที่เป็นไปนานแล้วระหว่างกลุ่มชนภูเขาทางทิศเหนือและนักเร่ร่อนชาวทะเลทรายแห่งเขตทุ่งหญ้าเหล่านี้ และก็ยังเป็นการต่อสู้ที่ยังเป็นไปอยู่ในปัจจุบัน เพื่อจะได้เป็นเจ้าของของ Fertile Crescent พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ซึ่งเป็นฝั่งของอ่าวทะเลทราย<br /><br />
<sup>1</sup> ไม่มีชื่อทั้งทาง[[ภูมิศาสตร์]]ทั้งทาง[[การเมือง]] ที่รวมแผ่นดินทั้งหมดของครึ่งวงกลมใหญ่นี้ ดังนั้น เราจำต้องบัญญัติคำแล้วเรียกมันว่า Fertile Crescentพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์
</blockquote>
ความหมายของคำตามที่ใช้ในปัจจุบันรวมทั้ง[[ประเทศอิรัก]] [[คูเวต]] ส่วนรอบ ๆ [[อิหร่าน]]และ[[ตุรกี]] และชายฝั่งของเขต[[ลิแวนต์]]ที่ติดกับ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] [[ซีเรีย]] [[จอร์แดน]] [[ปาเลสไตน์]] และ[[เลบานอน]]
บรรทัด 41:
 
== ภาษาที่ใช้ ==
Fertile Crescent พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์เป็นเขตที่มีความหลายหลากทางภาษา
โดยทั่วไปในประวัติศาสตร์ [[กลุ่มภาษาเซมิติก]] (Semitic) มักจะกระจายทั่วไปในที่ราบต่ำ
ในขณะเขตภูเขาทางทิศตะวันออกและทิศเหนือจะใช้กลุ่มภาษาที่โดยทั่วไปไม่เกี่ยวข้องกันรวมทั้ง Elamite, Kassite, และ Hurro-Urartian
บรรทัด 52:
{{cite book |authors=Potts, T |year=2012 |title = A Companion to the Archaeology of the Ancient Near East |editors=Potts, T |pages=28, 570, 584 }}</ref>
* [[ภาษาซูเมอร์]] ไม่ใช่[[กลุ่มภาษาเซมิติก|ภาษาเซมิติก]]แต่สัมพันธ์กับ[[ภาษาแอกแคด]] (แบบ Sprachbund) ที่อยู่ติดกัน
* [[กลุ่มภาษาเซมิติก]] รวมทั้ง[[ภาษาแอกแคด]] [[ภาษาอโมไรต์]] ภาษาอาแอราเมอิก [[ภาษายูการิติก]] ภาษา Canaanite
* กลุ่มภาษา Hurro-Urartian ซึ่งเป็นกลุ่มเล็ก ๆ (ซึ่งอาจจะเกี่ยวข้องกับภาษา Kassite ที่อยู่ต่างหาก)
* ภาษาฮิตไทต์ (Hattic language) เป็นภาษาต่างหากที่ดั้งเดิมพูดในเขต[[อานาโตเลีย]]กลาง
บรรทัด 60:
== ภูมิประเทศ ==
แม้ว่า [[แม่น้ำ]]และลุ่มน้ำจะเป็นทรัพยากรที่ขาดไม่ได้สำหรับการเกิดขึ้นของ[[อารยธรรม]] แต่ก็ไม่ใช่ปัจจัยเดียวแห่งการพัฒนาได้เร็วของเขตนี้
คือ บริเวณนี้เป็นจุดเชื่อมสำคัญระหว่าง[[แอฟริกา]]และกับ[[ยูเรเชีย]]
ซึ่งทำให้เขตนี้มี[[ความหลากหลายทางชีวภาพ]]มากกว่าทั้ง[[ยุโรป]]และ[[แอฟริกาเหนือ]]
ซึ่งล้วนแต่เป็นที่ที่[[การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ]]ในช่วง[[ยุคน้ำแข็ง]] ทำให้เกิด[[การสูญพันธุ์|เหตุการณ์สูญพันธ์]]ซ้ำ ๆ เมื่อระบบนิเวศหดเล็กลงมาชิดกับชายฝั่งของ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]]
บรรทัด 141:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{commons category|Fertile Crescent |position = left|พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์}}
* [http://news.nationalgeographic.com/news/2001/05/0518_crescent.html ''Ancient Fertile Crescent Almost Gone, Satellite Images Show''] - from [[National Geographic Society|National Geographic]] News, May 18, 2001.
{{Authority control}}