ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แพนด้ายักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| image = Panda ChiangMaiZoo humarkus.jpg
| image_caption = [[ช่วงช่วง]], แพนด้ายักษ์ที่[[สวนสัตว์เชียงใหม่]]
 
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordata]]
เส้น 13 ⟶ 12:
| familia = [[Ursidae]]
| genus = ''[[Ailuropoda]]''
| genus_authority = [[Henri Milne-Edwards|Milne-Edwards]], [[ค.ศ. 1870|1870]]
| species = '''''A. melanoleuca'''''
| binomial = ''Ailuropoda melanoleuca''
เส้น 28 ⟶ 26:
 
== ลักษณะทั่วไป ==
ถึงแม้จะจัดอยู่ในวงศ์ของหมี แต่พฤติกรรมของมันแตกต่างจากหมีโดยสิ้นเชิง แพนด้าเป็นสัตว์กินพืชเป็นอาหาร โดยร้อยละ 99 ของอาหารที่มันกินคือ[[ไผ่]] จนได้ชื่อว่า "แพนด้า" ซึ่งเป็นชื่อในภาษาพื้นเมืองของจีนแปลว่า "ผู้กินไผ่"<ref>{{cite news|title=เปิดโลกสัตว์หรรษา: เอสย่อมาจากสปีชีส์|url=http://www.clip007.com/hourly-rerun/tpbs/2016-07-17/18/|work=ไทยพีบีเอส|date=July 17, 2016|accessdate=July 18, 2016}}</ref> แต่บางทีอาจพบว่ามันก็กินไข่ ปลา และแมลงบางชนิดในไม้ไผ่ที่มันกิน นี่เป็นแหล่ง[[โปรตีน]]ที่สำคัญ จัดได้ว่าแพนด้ายักษ์เป็นหมีที่แตกต่างไปจากหมีชนิดอื่น ๆ ที่กินเนื้อเป็นอาหารหลัก แม้ว่าไผ่จะเป็นพืชที่ให้พลังงานกิโลแคลเลอรี่ต่ำมาก ทำให้แพนด้ายักษ์ใช้เวลากินไผ่นานถึงวันละ 16 ชั่วโมง ในปริมาณไม่ต่ำกว่า 18 กิโลกรัม และขับถ่ายมากถึงวันละ 40 ครั้ง และทำให้ในช่วงฤดูหนาว แพนด้ายักษ์จะไม่จำศีลในถ้ำเหมือนกับหมีชนิดอื่น เนื่องจากไผ่ให้พลังงานสะสมไม่เพียงพอ และจากการที่มีพฤติกรรมกินไผ่เป็นอาหารเพียงอย่างเดียวนั้น เป็นสาเหตุที่ทำให้แพนด้ายักษ์เป็นสัตว์ที่แพร่ขยายพันธุ์ได้ยากด้วย โดยในรอบปี แพนด้ายักษ์ตัวเมียจะมีอาหารติดสัดเพียง 1-2 วันเท่านั้น และออกลูกรวมถึงเลี้ยงลูกให้รอดจนเติบโตในธรรมชาติได้ยากมาก หากแพนด้ายักษ์แพร่ขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว จะทำให้ไผ่พืชอาหารหลักหมดไปอย่างรวดเร็วเช่นกัน <ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/tpbs/2015-02-09/18/|title=ท่องโลกกว้าง: สัตว์ป่าหน้าแปลก |date=9 February 2015|accessdate=10 February 2015|publisher=ไทยพีบีเอส}}</ref> และถึงแม้แพนด้ายักษ์จะกินไผ่เป็นอาหารหลัก คิดเป็นร้อยละ 99 ของอาหารทั้งหมดก็ตาม แต่ภายในตัวของแพนด้ายักษ์กลับไม่มีจุลินทรีย์ในการช่วยย่อยไผ่ แต่กลับมีเขี้ยวสำหรับใช้กัดและเอนไซน์ในการย่อยเนื้อแทน<ref name=แพน/> โดยลูกแพนด้ายักษ์ที่เพิ่งเกิด ตาจะยังไม่ลืมและไม่มีขน และมีน้ำหนักน้อยกว่าแพนด้าตัวเต็มวัยถึง 900 เท่า แต่ทว่ากลับมีอัตราการเจริญเติบโตที่เร็วมากที่สุดชนิดหนึ่งในบรรดาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โดยสามารถเพิ่มน้ำหนักตัวจากแค่ 0.1 กิโลกรัม เป็น 1.8 กิโลกรัม ได้ภายในเวลาเพียงเดือนเดียว<ref name=แพน/>
 
หลายสิบปีที่ผ่านมา การจัดจำแนกสายพันธุ์ที่แน่นอนของแพนด้ายังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ แพนด้ายักษ์และ[[แพนด้าแดง]]ซึ่งเป็นญาติสายพันธุ์ห่าง ๆ กัน และยังมีลักษณะพิเศษที่เหมือนทั้งหมีและ[[แรคคูน]] อย่างไรก็ตาม การทดลองทางพันธุกรรมบ่งบอกว่าแพนด้ายักษ์เป็นหนึ่งใน[[species|ชนิด]]ของ[[หมี]] (วงศ์ Ursidae) หมีที่ชนิดใกล้เคียงที่สุดของแพนด้าคือ[[หมีแว่น]]ที่พบใน[[ทวีปอเมริกาใต้]] (ข้อขัดแย้งที่ยังคงเป็นที่สงสัยอยู่คือแพนด้าแดงนั้นอยู่ในวงศ์ใด เป็นที่ถกเถียงว่าอาจจะอยู่ในวงศ์[[หมี]] (Ursidae), [[Procyonidae|วงศ์แรคคูน]], วงศ์[[Procyonidae|โพรไซโอนิดี้]] (Procyonidae), หรืออยู่ในวงศ์เฉพาะของมันเอง [[Ailuridae|วงศ์ไอเลอริดี้]] (Ailuridae)) โดย[[ซากดึกดำบรรพ์]]ที่ค้นพบจากในถ้ำของประเทศจีนพบว่า แพนด้าถือกำเนิดมาแล้วบนโลกอย่างน้อย 2 ล้านปี แต่การที่ได้วิวัฒนาตัวเองแยกออกมาจากหมีทั่วไปนั้นยังไม่ทราบแน่ชัด<ref name=แพน>หน้า 88-113, ''คืนแพนด้าสู่ธรรมชาติ'' โดย เจนนิเฟอร์ เอล. ฮอลแลนด์. นิตยสาร [[National Geographic]] (ภาษาไทย) 181 : สิงหาคม 2559</ref>
เส้น 41 ⟶ 39:
 
==สถานะ==
ในอดีตเชื่อว่าแพนด้ายักษ์พบกระจัดกระจายทั่วไปตั้งแต่ภาคใต้และตะวันออกของจีนจนไปถึงตอนเหนือของพม่าและเวียดนาม<ref name=แพน/> แต่ปัจจุบันแพนด้ายักษ์เป็นหนึ่งในสัตว์สายพันธุ์ที่ใกล้สูญพันธุ์มากที่สุดสายพันธุ์ชนิดหนึ่งของโลก โดยปัจจุบันพบเพียงแค่พื้นที่แคบ ๆ บนป่าสนเขาของ[[มณฑลเสฉวน]] ทางตอนใต้ของจีนเท่านั้น ตามรายงานล่าสุด<ref name="Xinhua1">{{cite news | url = http://news.xinhuanet.com/english/2007-11/08/content_7034856.htm | title = Number of pandas successfully bred in China down from last year | work = [[สำนักข่าวซินหัว|ซินหัว]] | date = 8 พ.ย. 2550 | accessdate = 22 ก.ค. 2551}}</ref> มีแพนด้าที่เลี้ยงในกรงเลี้ยง 239 ตัวอยู่ในจีน และอีก 27 ตัวอยู่ในต่างประเทศ มีการคาดการณ์ไว้ว่ามีแพนด้ายักษ์ประมาณ 1,590 ตัวอาศัยอยู่ตามธรรมชาติ<ref name="Xinhua1" /> อย่างไรก็ดี จากการศึกษาในปี [[ค.ศ. 2006]] ผ่านการ[[วิเคราะห์ดีเอ็นเอ]] สามารถประมาณการได้ว่าอาจจะมีแพนด้ายักษ์เป็นจำนวนถึง 2,000-3,000 ตัวอาศัยอยู่ตามธรรมชาติ<ref name="BBC_06-07">{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/5085006.stm |title=Hope for future of giant panda|work=[[บีบีซีนิวส์]]|date=20 มิ.ย. 2549|accessdate=14 ก.พ. 2550}}</ref> ซึ่งแสดงให้เห็นว่าจำนวนแพนด้าตามธรรมชาติเพิ่มจำนวนขึ้น<ref>[http://today.reuters.com/news/articlenews.aspx?type=topNews&storyID=2006-08-08T130946Z_01_PEK19201_RTRUKOC_0_US-CHINA-PANDA.xml&pageNumber=0&imageid=&cap=&sz=13&WTModLoc=NewsArt-C1-ArticlePage2 Giant panda gives birth to giant cub]</ref><ref name="pandasinc">{{cite news |first=Lynne |last=Warren |title=Pandas, Inc. |url=http://ngm.nationalgeographic.com/ngm/0607/feature1/?fs=animals-panther.nationalgeographic.com |publisher=[[เนชั่นแนล จีโอกราฟิก|เนชันแนลจีโอกราฟิก]] |date=[[กรกฎาคม พ.ศ. 2549|ก.ค. 2549]] |accessdate=10 เม.ย. 2551 }}</ref> [[สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ]]เชื่อว่าข้อมูลดังกล่าวยังไม่มีความแน่นอนพอที่จะย้ายชื่อแพนด้ายักษ์ออกจากบัญชีรายชื่อสัตว์ที่ใกล้สูญพันธุ์<ref>{{cite news|title=Concern grows for smallest bear|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/7087345.stm |work = บีบีซีนิวส์|date= 12 พ.ย. 2550|accessdate = 22 ก.ค. 2551}}</ref>
 
โดยแพนด้ายักษ์ยังไม่มีกฎหมายคุ้มครองจนกระทั่งถึงคริสต์ทศวรรษที่ 1960 โดยปัจจุบันกฎหมายของจีนระบุไว้ว่าหากผู้ใดฆ่าแพนด้ายักษ์มีโทษจำคุก 20 ปี <ref name=แพน/> และตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1970 ทางการจีนได้เพิ่มปริมาณเขตอนุรักษ์แพนด้ายักษ์เพิ่มขึ้นจาก 12 แห่ง เป็น 67 แห่งในปัจจุบัน ถือได้ว่าเป็นสัตว์ชนิดที่มีการคุ้มครองมากที่สุดในโลก อีกทั้งปัจจุบันยังได้มีโครงการเพาะขยายพันธุ์แพนด้ายักษ์ในที่เลี้ยง เพื่อนำไปปล่อยลกับคืนสู่ธรรมชาติอีกด้วย ซึ่งก็ได้ผลสำเร็จบ้างแล้วในขั้นต้น โดยมีการติดปลอกคอดาวเทียมเพื่อมีการติดตามความเป็นอยู่ในธรรมชาติ<ref name=แพน/>
 
แพนด้ายักษ์ถือเป็นสัญลักษณ์ทางการทูตอย่างหนึ่งของจีน จะเห็นได้ว่าจีนส่งหมีแพนด้าไปยังสวนสัตว์[[สหรัฐอเมริกา]] และ [[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยการให้ยืม ซึ่งเป็นเครื่องหมายการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างจีนและชาติตะวันตก การปฏิบัติเป็นธรรมเนียมเช่นนี้ทำให้มีคนเรียกแพนด้าว่า "ทูตสันถวไมตรี"