ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กุศลและอกุศล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
moveCategory
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
'''อกุศลกรรม''' หมายถึง [[บาป]], [[ความชั่วร้าย]],<ref>พระพรหมคุณาภรณ์ สิ่งที่ไม่ดี(ประยุทธ์ ใช้แทนคำว่าปยุตฺโต), ''พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์'บาป'</ref> ไม่เป็นมงคล,<ref>''[[พจนานุกรม ก็ได้ฉบับราชบัณฑิตยสถาน บางครั้งก็ใช้คู่กันไปเป็นพ.ศ. 2542]]'''บาปอกุศล'''</ref> ไม่ฉลาด, กรรมชั่ว และเป็นคำตรงกันข้ามกับคำว่า '''[[กุศล]]''' ซึ่งแปลว่า ความดี
 
ใน'''สัมมาทิฏฐิสูตร''' [[พระสารีบุตร]]อธิบายว่า อกุศล คือ
'''อกุศลกรรม''' เป็นคำที่ถูกนำมาใช้นำหน้าคำอื่นมากและทำให้มีความหมายไปในทางที่ไม่ดี เช่น
# [[การฆ่า|ปาณาติบาต]] หมายถึง
 
# [[โจรกรรม|อทินนาทาน]] หมายถึง
* '''อกุศลกรรม''' หมายถึงความชั่ว, [[บาป]]
# [[การประพฤติผิดในกาม|กาเมสุมิจฉาจาร]] หมายถึง
* '''อกุศลกรรมบท''' หมายถึงทางแห่งความชั่ว, ทางบาป
# [[การโกหก|มุสาวาท]] หมายถึง คำโกหก
* '''อกุศลจิต''' หมายถึงจิตชั่ว, ความคิดชั่ว
*# '''อกุศลเจตนา'''[[ปิสุณาวาจา]] หมายถึงเจตนาไม่ดี คำส่อเสียด
# [[ผรุสวาจา]] หมายถึง คำหยาบ
* '''อกุศลมูล''' หมายถึงรากเหง้าแห่งความชั่ว ได้แก่ [[โลภะ]] [[โทสะ]] [[โมหะ]]
# [[สัมผัปปลาปะ]] หมายถึง คำพูดเพ้อเจ้อ
# [[โลภะ|อภิชฌา]] หมายถึง การเพ่งเล็งอยากได้ของเขา
# [[โทสะ|พยาบาท]] หมายถึง การคิดร้ายผู้อื่น
# [[มิจฉาทิฐิ]] หมายถึง ความเห็นผิด
รากเหง้าแห่งอกุศลข้างต้นเรียกว่า '''อกุศลมูล''' ได้แก่ [[โลภะ]] [[โทสะ]] และ[[โมหะ]]
 
พระสารีบุตรอธิบายสรุปว่า เมื่อใด พระอริยสาวกรู้ชัดอกุศลและรากเหง้าแห่งอกุศลอย่างนี้ รู้ชัดกุศลและรากเหง้าแห่งกุศลอย่างนี้ เมื่อนั้น ย่อมละ[[อนุสัย]]คือ[[ราคะ]] บรรเทาอนุสัยคือ[[ปฏิฆะ]] ถอนอนุสัยคือ[[ทิฐิ]]และ[[มานะ]]ที่ว่า ‘เป็นเรา’ โดยประการทั้งปวง ละ[[อวิชชา]]ได้แล้ว ทำ[[วิชชา]]ให้เกิดขึ้น แล้วเป็นผู้ทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ในปัจจุบันนี้เอง ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ พระอริยสาวกก็ชื่อว่ามีสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นตรง มีความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรม มาสู่พระสัทธรรมนี้<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=12&siri=9 สัมมาทิฏฐิสูตร], พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่มที่ 12 พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ 4 มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{เริ่มรายการอ้างอิง}}
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
{{จบอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]