ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมืองพี่น้องและเมืองแฝด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''เมืองพี่น้อง''' ({{lang-en|Sister cities}}) และ'''เมืองแฝด''' ({{lang-en|Twin cities}}) เป็นคำที่ใช้เรียกเมืองที่การเจริญสัมพันธไมตรีอันดีต่อกัน (ส่วนใหญ่จะเป็นเมืองที่อยู่กันคนละ[[ประเทศ]]) โดยมีความร่วมมือกันระหว่างเมือง หรือระหว่างประเทศ เพื่อช่วยเหลือการพัฒนาเมืองในด้านต่าง ๆ และสนับสนุนความเข้าใจระหว่าง[[วัฒนธรรม]] มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ถ่ายทอดซึ่งกันและกัน นำสิ่งดีๆที่อีกฝ่ายหนึ่งมี มาพัฒนาต่อยอดเมืองของตนเอง หรือในบางครั้ง เมืองพี่เมืองน้อง มักจะถูกตีความไปตามลักษณะเมืองที่มีความคล้ายคลึงกัน ทางด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี ชีวิตความเป็นอยู่ ตลอดจนสภาพสิ่งแวดล้อมของเมืองที่คล้ายคลึงกัน เราก็เรียกว่าเมืองพี่เมืองน้องได้ อย่างเช่น [[อำเภอปาย|เมืองปาย]]กับ[[วังเวียง]] ที่มีบรรยากาศของเมืองพักกลางทางท่ามกลางขุนเขา ลำน้ำ และสายหมอกเหมือนกัน หรืออย่าง [[จังหวัดยโสธร]]กับ[[เมืองโยชิดะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]] ที่ได้รับการเรียกว่าเป็นเมืองคู่แฝด เพราะมีประเพณีการเล่นบั้งไฟคล้ายคลึงกัน
ในเมืองไทยมีหลายจังหวัดที่มีการเจริญความสัมพันธ์อันดีเป็นเมืองพี่เมืองน้องกับเมืองต่างๆทั่วโลก หรือเป็นเมืองพี่เมืองน้องกันเองภายในประเทศ อย่าง[[กรุงเทพมหานคร]] ที่สถาปนาเมืองพี่เมืองน้องระหว่าง[[กรุงเทพมหานคร]].กับ[[จังหวัดแพร่]] ภายหลังจากที่ กรุงเทพฯได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์เสาชิงช้า โดยได้รับความร่วมมือจาก[[จังหวัดแพร่]]ในการอนุญาตให้พลีต้นสักทองจำนวน 6 ต้น เมื่อวันที่ [[19]] [[พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2549]] ที่[[อำเภอเด่นชัย]] มาทำเป็นเสาชิงช้าต้นใหม่
 
หรือการเจริญความสัมพันธ์ระหว่าง[[จังหวัดสุพรรณบุรี]]กับเมือง Courtenay [[ประเทศแคนาดา]] ความเป็นเมืองพี่เมืองน้องระหว่าง[[จังหวัดภูเก็ต]]กับ[[เมืองนีซ]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] [[จังหวัดเพชรบุรี]] กับข้อตกลงการสถาปนาความสัมพันธ์เมืองพี่ เมืองน้องระหว่าง[[จังหวัดเพชรบุรี]]กับ[[เมืองพารามัตตา]] [[ประเทศออสเตรเลีย]] เหล่าล้วนเป็นแบบอย่างในการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างเมืองและประชากรทั้งสองประเทศให้แนบแน่นยิ่งขึ้น<ref>รู้จักเมืองพี่เมืองน้อง...ของกรุงเทพฯ .Travel - Manager Onlinehttps สืบค้น 18 สิงหาคม พ.ศ. 2559</ref>