ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลาพระเกี้ยว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BunBn (คุย | ส่วนร่วม)
Payajam (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 39:
 
==ลักษณะอาคาร==
ศาลาพระเกี้ยวเป็นอาคาร[[คอนกรีตเสริมแรง]]ด้วยเหล็ก (คอนกรีตเสริมเหล็ก) 2 ชั้น มีชั้นใต้ดิน 1 ชั้น ภายในชั้น 1 เป็นโถงขนาดใหญ่ปูพื้นด้วยไม้ ชั้น 2 เป็นชั้นลอยเกาะติดกับตัวอาคารด้านในรอบด้าน เพดานโปร่งสูง ผนังด้านข้างเป็นหน้าต่างกระจก รูปทรงโดยรวมของตัวอาคารออกแบบให้คล้าย[[พระเกี้ยว]] สัญลักษณ์ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี [[พ.ศ. 2559]] ศาลาพระเกี้ยวได้รับการคัดเลือกจาก[[สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์]]ให้ได้รางวัลอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น<ref>iURBAN. รางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี ๒๕๕๙ . 24 เมษายน 2559. http://www.iurban.in.th/inspiration/basic-of-the-past-asa59/ (9 พฤษภาคม 2559 ที่เข้าถึง).</ref>
 
ด้วยจุดประสงค์ของโครงการก่อสร้างศาลาพระเกี้ยวคือการเป็นอาคารศูนย์รวมกิจกรรมนิสิต ที่ตั้งของศาลาพระเกี้ยวจึงถูกเลือกให้รายล้อมด้วยอาคาร[[คณะวิชา]] หน่วยงานและป้ายหยุดรถโดยสารภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือเป็นจุดสัญจรสำคัญของนิสิตและผู้มาติดต่อมหาวิทยาลัย กลุ่มอาคารของคณะและหน่วยงานที่ตั้งอยู่ใกล้เคียงศาลาพระเกี้ยว เช่น [[คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะรัฐศาสตร์]] [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะวิศวกรรมศาสตร์]] [[คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะเศรษฐศาสตร์]] [[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะวิทยาศาสตร์]] [[สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|สถาบันภาษา]]และ[[คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|พาณิชยศาสตร์และการบัญชี]]
 
<gallery mode=packed heights=140>