ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเกี้ยว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Payajam (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนภาพพระเกี้ยวในหอประวัติจุฬาฯ
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Privy Seal of King Rama V (Chulalongkorn).svg|thumb|[[พระราชลัญจกรประจำรัชกาล|พระราชลัญจกรพระจุลมงกุฎ ประจำรัชกาลที่ 5]]]]
[[ไฟล์:พระบรมราชชนกโสกันต์.jpg|thumb|[[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก]]ทรงสวมพระเกี้ยวยอดในพระราชพิธีโสกันต์]]
[[ไฟล์:Phra Kiao at CU Memorial Hall 20081106Prakiow.jpg|thumb|พระเกี้ยวจำลอง ณ หอประวัติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
 
'''พระเกี้ยว''' หรือ '''[[จุลมงกุฎ]]''' เป็นศิราภรณ์ประดับพระเกศาหรือพระเศียรของพระราชโอรสและพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ และเป็นพิจิตรเลขาประจำรัชกาลใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทั้งนี้เพราะ พระนามาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น คือ "จุฬาลงกรณ์" ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับศีรษะ หรือ จุลมงกุฎ ซึ่งมีความหมายเชื่อมโยงกับพระนามาภิไธยของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] นั่นคือ "มงกุฎ" อีกทั้ง พระปรมาภิไธยในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังมีหมายความว่า "พระจอมเกล้าน้อย" อีกด้วย เมื่อพระนามาภิไธยเดิมและพระปรมาภิไธยเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีความหมายว่าพระเกี้ยว หรือจุลมงกุฎ จึงได้ใช้พระเกี้ยวหรือจุลมงกุฎวางบนเบาะ เป็นพิจิตรเลขาประจำรัชกาลของพระองค์