ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปรียญธรรม 9 ประโยค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:พัดยศเปรียญธรรม ๙ ประโยค.jpg|thumb|พัดยศเปรียญธรรม 9 ประโยค]]
ใช้
 
'''เปรียญธรรม 9 ประโยค''' '' (ชื่อย่อ ป.ธ.9) '' เป็นระดับชั้นสูงสุด ของการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย
ผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้ ตามกฏหมายเทียบวุฒิเท่าระดับ[[ปริญญาตรี]] <ref>[http://www.ago.go.th/interest_law/sub/sub1/sub1_55.html ซึ่งเป็นพระราชบัญญัติกำหนดวิทยฐานะผู้สำเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา พ.ศ. 2527]</ref> [มาตรา 4 แก้ไขโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540]
ผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้[[กระทรวงศึกษาธิการ]]เทียบวุฒิให้เทียบเท่าระดับ[[ปริญญาเอก]] <ref>[http://www.ago.go.th/interest_law/sub/sub1/sub1_55.html พระราชบัญญัติกำหนดวิทยฐานะผู้สำเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา พ.ศ. 2527]</ref> เรียกง่ายๆ คือ ผู้ที่สอบได้ ป.ธ.๙ สามารถเทียบเท่าระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต หรือ ดร.ทางฝ่ายโลกได้ คือ เป็น ดร. แผนกภาษาบาลี สาขาวิชาภาษาบาลี <ref>[http://www.phrathai.net/node/391 เสนอเทียบเปรียญ 9 เท่าปริญญาเอก.เดลินิวส์]</ref> อนึ่ง เปรียญธรรม 9 ประโยค ถือเป็น "ปริญญาเอก" ของฝ่ายคณะสงฆ์ หรือเปรียบได้กับคฤหัสถ์ผู้สอบไล่ได้ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ของฝ่ายฆราวาส <ref>ในบางมหาวิทยาลัยยอมรับวุฒิเปรียญธรรม 9 ประโยคมากกว่าที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง เช่น ที่วิทยาลัยศาสนศึกษา และคณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] วิชาพุทธศาสตร์ฯ หลักสูตรนานาชาติ ซึ่งผู้สอบไล่ได้เปรียญธรรมเก้าประโยค สามารถสอบเพื่อเข้าเรียนต่อในขั้นปริญญาเอกได้ทันที โดยไม่จำต้องมีวุฒิปริญญามหาบัณฑิตได้</ref>
 
ตามข่าวไทยรัฐฉบับพิมพ์ 12 พ.ค. 2559 กล่าวถึงการลุ้นเทียบวุฒิ ป.ธ.9 เป็น “ด็อกเตอร์” อ่านข่าวต่อได้ที่: http://www.thairath.co.th/content/618976 เมื่อกล่าวถึงภาษาบาลีที่อ้างถึงความสำคัญนั้นสรุปว่า แต่เดิมภาษาบาลีคือภาษามคธที่คนในแคว้นมคธใช้พูดกันเท่านั้น เพราะภาษาบาลีไม่มีอักษรใช้เขียนเป็นตัวหนังสือ พระพุทธเจ้าตรัสสอนธรรมด้วยภาษามคธเพราะแคว้นมคธเป็นแคว้นใหญ่ เหตุที่ภาษาบาลีไม่มีอักษรเขียน จึงต้องอาศัยอักษรจากภาษาอื่นเป็นตัวเขียน เช่น อักษรเทวนาครี อักษรขอม อักษรไทย อักษรโรมัน เป็นต้น ในปัจจุบันภาษาบาลีถือว่าเป็นภาษาที่ตายแล้ว เหมือนภาษาละติน ถึงแม้มีคนใช้พูดอยู่ก็น้อยมาก ในพระพุทธศาสนามีเพียงนิกายเถรวาทที่ใช้ภาษาบาลี เช่นในพระไตรปิฎก เป็นต้น ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ https://th.answers.yahoo.com/question/index?qid=20110806032541AAuiDo4
 
ความหวังผู้ที่สอบได้ ป.ธ.๙ สามารถเทียบเท่าระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต หรือ ดร.ทางฝ่ายโลกได้ คือ เป็น ดร. แผนกภาษาบาลี สาขาวิชาภาษาบาลี <ref>[http://www.phrathai.net/node/391 เสนอเทียบเปรียญ 9 เท่าปริญญาเอก
ข้อสังเกตในการเสนอเทียบ ป.ธ. 9 เท่าปริญญาดุษฎีบัณฑิตฝ่ายทางโลกนั้น ควรได้พิจารณาว่ามีความเหมาะสมเพียงใดและเพื่อประโยชน์อย่างใด ในเมื่อตามกฏหมายไทยเทียบวุฒิเท่าระดับปริญญาตรี ซึ่งมีความเหมาะสมทั้งประโยชน์และคุณวุฒิอยู่แล้ว สำหรับปริญญาดุษฎีบัณฑิตฝ่ายทางโลกเสนอให้แต่ผู้สมควรที่มีผลงานการวิจัยบนเรื่องใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีใครได้ทำการวิจัยเช่นนั้นมาก่อน ตามกฏหมายที่ใช้ในปัจจุบันจึงเห็นควรให้ ป.ธ. 9 เทียบวุฒิเท่าระดับปริญญาตรี ซึ่งมีความเหมาะสมอยู่แล้ว ถ้าผู้ได้รับ ป.ธ. 9 ต้องการศึกษาต่อขั้นปริญญาดุษฎีบัณฑิต จะสามารถเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยที่มีหลักสูตรตามความต้องการได้ อย่างเช่นผู้สำเร็จปริญญาตรีทางภาษาศาสตร์ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศษ จีน เป็นต้น ซึ่งมีความสามารถ เขียน อ่าน แปล ได้อย่างดีเหมือนพระสงฆ์ที่มีความสามารถทางภาษาบาลีสอบผ่านได้ ป.ธ. 9 แต่ถ้าผู้สำเร็จปริญญาตรีทางภาษาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยทางโลกจะศึกษาต่อปริญญาดุษฎีบัณฑิต จำเป็นต้องศึกษาต่อและปฏิบัติตามความต้องการของมหาวิทยาลัยที่ศึกษาต่อนั้น
 
[[พระภิกษุ]]สามเณรผู้สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค เมื่อเข้ารับพระราชทานประกาศนียบัตร พัดเปรียญ ในพระ[[อุโบสถ]] [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] แล้ว จะได้รับพระมหากรุณาธิคุณ โปรดเกล้าฯ จัดเจ้าพนักงานขับ[[รถหลวง]] ส่งถึงยังอาราม