ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศยูเครน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 36:
| GDP_PPP_per_capita = 8,277 [[ดอลลาร์สหรัฐ]]
| GDP_PPP_per_capita_rank =
| sovereignty_type = [[ประวัติศาสตร์ยูเครน]]
| sovereignty_note =
| established_event1 = [[จักรวรรดิเคียฟรุส]]
| established_date1 = (ค.ศ. 882)
| established_event2 = [[Kingdom of Galicia–Volhynia]]
| established_date2 = (ค.ศ. 1199)
| established_event3 = [[Cossack Hetmanate]]
| established_date3 = [[พ.ศ. 2192]] (ค.ศ. 1649)
| established_event4 = [[สาธารณรัฐประชาชนยูเครน]]
| established_date4 = [[OldWikisource:Третій Універсал Української Центральної Ради|7 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2460]]
| established_event5 = [[สาธารณรัฐชาตินิยมยูเครนตะวันตก]]
| established_date5 = [[1 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2461]]
| established_event6 = [[สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน]]
| established_date6 = [[30 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2465]]
| established_event7 = [[Declaration of Ukrainian Independence, 1941|Second Declaration of Independence]]
| established_date7 = [[30 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2484]]
| established_event8 = ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต
| established_date8 = [[24 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2534]]{{smallsup|1}}
| HDI_year = 2556
| HDI = 0.734
บรรทัด 69:
| footnotes =
}}
 
'''ประเทศยูเครน''' ({{lang-en|Ukraine}}; {{lang-ua|Україна}}, ''Ukrayina'' {{IPA|[ukraˈjina]}}) เป็น[[ประเทศ]]ใน[[ยุโรปตะวันออก]] มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับ[[ประเทศรัสเซีย]] ทางเหนือติดต่อกับ[[ประเทศเบลารุส|เบลารุส]] ทางตะวันตกติดต่อกับ[[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]] [[ประเทศสโลวาเกีย|สโลวาเกีย]] และ[[ประเทศฮังการี|ฮังการี]] ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับ[[ประเทศโรมาเนีย|โรมาเนีย]]และ[[ประเทศมอลโดวา|มอลโดวา]] ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรด[[ทะเลดำ]]และ[[ทะเลอะซอฟ]]ตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.<sup>2</sup> จึงเป็นประเทศใหญ่ที่สุดซึ่งมีอาณาเขตอยู่ในทวีปยุโรปทั้งหมด<ref>{{cite book |url= http://books.google.com/?id=owsHh0v-QT4C&pg=PA345&dq=second+largest+European+country+after+%22Russian+federation%22#v=onepage&q=second%20largest%20European%20country%20after%20%22Russian%20federation%22&f=false |title= Global Clinical Trials |authorlink=Richard Chin |author=Chin, Richard |publisher=[[Elsevier]] |year=2011 |isbn=0-12-381537-1 |page=345}}</ref><ref>{{cite book |url= http://books.google.com/?id=JXPK9Qp8Yu8C&pg=PT88&dq=Ukraine+second+largest+country+Europe+after+Russia#v=onepage&q=Ukraine%20second%20largest%20country%20Europe%20after%20Russia&f=false |title= Future of Google Earth |authorlink=Chandler Evans |author=Evans, Chandler |publisher=BookSurge |year=2008 |isbn= 1-4196-8903-7 |page=174}}</ref><ref name="UKRCONSUL">{{cite web |title= Basic facts about Ukraine |url= http://www.ukrconsul.org/BASIC_FACTS.htm |publisher=Ukrainian consul in NY |accessdate=10 November 2010}}</ref>
 
เส้น 80 ⟶ 81:
 
== ภูมิศาสตร์ ==
{{โครง-ส่วน}}A_uW_TthIkRaI
 
== ประวัติศาสตร์ ==
เส้น 87 ⟶ 88:
=== ยุครุ่งเรืองแห่งเคียฟ ===
{{บทความหลัก|จักรวรรดิเคียฟรุส}}
{{โครง-ส่วน}}
นักประวัติศาสตร์เชื่อว่าชาว Nomad โดยเฉพาะชาว Scythian เป็นพวกแรกที่เข้ามาตั้งหลักแหล่งในยูเครนในช่วงก่อนคริสตกาล หลังจากนั้น ชาวเผ่าสลาฟได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณตอนกลางและตะวันออกของยูเครน อย่างไรก็ดี ชนชาติสำคัญที่มีบทบาทในการรวบรวมดินแดนบริเวณนี้ให้เป็นปึกแผ่นคือชาวรุส (Rus) ที่มาจาก[[สแกนดิเนเวีย]] โดยต่อมาชาวรุสได้สถาปนาจักรวรรดิเคียฟรุส ขึ้นในศตวรรษที่ 6 และปกครองชาวสลาฟที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้ และต่อมาได้ขยายดินแดนออกไปรวบรวมเผ่าสลาฟและชนชาติต่างๆ จนเป็นอาณาจักรที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปในศตวรรษที่ 11 แต่ในศตวรรษที่ 12 อาณาจักรนี้ได้เสื่อมสลายลง เนื่องจากสงครามระหว่างเจ้าผู้ครองนครต่างๆ และการรุกรานจากชาวมองโกลในศตวรรษต่อมา หลังจากนั้น ดินแดนบางส่วนของยูเครนได้ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรต่างๆ อาทิ [[ลิทัวเนีย]] [[โปแลนด์]] [[ออสเตรีย-ฮังการี]] และ [[จักรวรรดิรัสเซีย]]
 
เส้น 93 ⟶ 94:
{{บทความหลัก|สงครามประกาศเอกราชของยูเครน|การปฏิวัติรัสเซีย}}
{{บทความหลัก|ยูเครนในสงครามโลกครั้งที่ 1|สงครามกลางเมืองรัสเซีย|ยูเครนภายหลังจากการปฏิวัติรัสเซีย}}
ภายหลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] ยูเครนได้ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิรัสเซียและราชวงศ์ฮับสบวร์กเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ.1918 แต่ต่อมากระแสการปฏิวัติในรัสเซียได้ลุกลามมายังยูเครน ทำให้เกิดสงครามกลางเมืองและสงครามประกาศเอกราชขึ้น เกิดการก่อตั้งรัฐเอกราชยูเครนในช่วงระยะสั้นๆ สมัยต่าง ๆ ดังนี้ [[สาธารณรัฐประชาชนยูเครน]], [[สาธารณรัฐประชาชนยูเครนตะวันตก]] และ [[รัฐยูเครน]]
 
=== สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน ===
{{โครง-ส่วน}}
ปี ค.ศ.1922 ดินแดนส่วนตะวันตกของยูเครนได้ถูกผนวกรวมกับโปแลนด์ ในขณะที่ดินแดนตอนกลางและตะวันออกถูกผนวกรวมกับรัสเซียในฐานะ[[สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน|สาธารณรัฐ]]หนึ่งของ[[สหภาพโซเวียต]] เมื่อภายใต้ระบอบ[[ระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์]] ชาวยูเครนถูกบังคับให้เลิกใช้ภาษาของตนเอง นอกจากนี้ ในช่วงปี ค.ศ. 1932-1933 [[ประธานาธิบดีแห่งสหภาพโซเวียต|ประธานาธิบดี]][[โจเซฟ สตาลิน]] แห่งสหภาพโซเวียต ยังได้ใช้มาตรการ “Holodomor” (Famine) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[นโยบายระบบนารวม]]ของสหภาพโซเวียตกับชาวยูเครน อันส่งผลให้เกิดภาวะข้าวยากหมากแพงและการขาดแคลนอาหารขึ้นทั่วประเทศ และชาวยูเครนกว่า 7 ล้านคนต้องเสียชีวิตลง ชาวนาและปัญญาชนที่ต่อต้านระบบดังกล่าวถูกกวาดล้างหรือเนรเทศไปยังไซบีเรีย
 
เส้น 102 ⟶ 103:
{{บทความหลัก|สงครามโลกครั้งที่ 2|วันแห่งชัยชนะ (ยุโรปตะวันออก)}}
{{บทความหลัก|คาร์ปาร์โท-ยูเครน|รัฐบาลเฉพาะกาลยูเครน|แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}
{{โครง-ส่วน}}
ในช่วงแรกของสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวยูเครนให้การสนับสนุน[[กองทัพเยอรมัน|กองทัพนาซีเยอรมัน]]ของ เพื่อเป็นอิสระจากสหภาพโซเวียต แต่ต่อมาได้หันไปต่อต้าน เนื่องจากกองทัพ[[นาซีเยอรมัน]]ที่ปกครองอย่างกดขี่ และ ทารุณ โดยในช่วงดังกล่าว ชาวยิวในยูเครนกว่า 1 ล้านคนถูก[[การล้างชาติโดยนาซี|สังหารหมู่]] และ เคียฟ ถูกเผาทำลาย อย่างไรก็ดี หลังจากที่กองทัพนาซี[[การบุกครองโปแลนด์|บุกครองโปแลนด์]]ในปี ค.ศ.1939 ดินแดนส่วนตะวันตกของยูเครนที่เดิมอยู่ภายใต้โปแลนด์ได้ถูกผนวกรวมกับสหภาพโซเวียต
 
เส้น 118 ⟶ 119:
{{บทความหลัก|สภาสูงสุดแห่งยูเครน}}
{{โครง-ส่วน}}
ฝ่ายนิติบัญญัติ เป็นระบบสภาเดียว (Unicameral) คือ สภาสูงสุด (Supreme Rada) มีสมาชิก 450 คน (เลือกตั้งโดยตรง 225 ที่นั่ง แบบสัดส่วน 225 ที่นั่ง) โดยมีการเลือกตั้งทุกๆ 4 ปี การเลือกตั้งทั่วไปครั้งล่าสุด มีขึ้นเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2550
 
==== พรรคการเมือง ====
เส้น 125 ⟶ 126:
=== ตุลาการ ===
{{บทความหลัก|ศาลสูงสุดแห่งยูเครน|กฎหมายยูเครน}}
{{โครง-ส่วน}}
ฝ่ายตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา
 
==== การบังคับใช้กฎหมาย ====
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สิทธิมนุษยชน ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สถานการณ์ทางการเมือง ===
{{โครง-ส่วน}}
\
==== Leonid Kravchuk (ค.ศ. 1991-1994) ====
หลังการประกาศเอกราช ยูเครนได้เปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบประชาธิปไตยและมีการเลือกตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1991 โดยนาย Leonid Kravchuk อดีตประธานรัฐสภายูเครนได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีคนแรก ประธานาธิบดี Kravchuk ได้เริ่มกระบวนการสร้างชาติ และปฏิรูประบบเศรษฐกิจของประเทศไปสู่ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีแบบตะวันตก อย่างไรก็ดี ในภาพรวม สถานการณ์การเมืองภายในประเทศยังสับสนวุ่นวาย อาทิ การประท้วงของกลุ่มที่นิยมระบอบคอมมิวนิสต์ ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มปฏิรูปเศรษฐกิจกับกลุ่มอนุรักษนิยม ความขัดแย้งระหว่างประธานาธิบดีกับนายกรัฐมนตรีเกี่ยวกับมาตรการปฏิรูปเศรษฐกิจ ปัญหาการเรียกร้องเอกราชของไครเมีย ปัญหาเงินเฟ้อและเศรษฐกิจตกต่ำ เป็นต้น
เส้น 188 ⟶ 190:
การดำเนินนโยบายต่างประเทศของยูเครนภายใต้รัฐบาลของนาง Tymoshenko ยังคงมุ่งเน้นปัจจัยหลัก 3 ประการ เช่นเดียวกับรัฐบาลชุดก่อน ได้แก่
1. พัฒนาความสัมพันธ์ทวิภาคีกับรัฐต่างๆ โดยเฉพาะเทศเพื่อนบ้าน ประเทศมหาอำนาจ และประเทศหุ้นส่วนสำคัญทางยุทธศาสตร์
2. การบูรณาการเข้าสู่สหภาพยุโรปและนาโต้
3. ความร่วมมือในกรอบพหุภาคี
 
เส้น 212 ⟶ 214:
{{โครง-ส่วน}}
ยูเครนมีความสัมพันธ์ที่ดีกับโปแลนด์ และมีบทบาทสำคัญในกลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราช (CIS) รองจากรัสเซีย รวมทั้งมีบทบาทนำในองค์กรในระดับอนุภูมิภาค อาทิ กลุ่ม GUUAM (Georgia-Ukraine-Uzbekistan-Azerbaijan-Moldova) ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศ CIS ที่นิยมตะวันตกและสนับสนุนให้ CIS รวมตัวเฉพาะทางเศรษฐกิจเท่านั้น กลุ่ม Organization for Black Sea Economic Cooperation และอยู่ในกลุ่มความร่วมมือ Common Economic Space (CES) ซึ่งเป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจเพื่อการจัดตั้งเขตการค้าเสรีระหว่างรัสเซีย ยูเครน เบลารุส และคาซัคสถาน นอกจากนี้ ยูเครนยังมีแผนที่จะร่วมมือกับอาเซอร์ไบจาน จอร์เจีย และมอลโดวา ในการสร้างท่อลำเลียงน้ำมันจากริมฝั่งทะเลสาบแคสเปียนโดยไม่ผ่านดินแดนของรัสเซียเพื่อเป็นการถ่วงดุลอำนาจและอิทธิพลรัสเซียในภูมิภาคนี้ เนื่องจากปัจจุบันรัสเซียเป็นผู้ผูกขาดการขนส่งน้ำมันจากทะเลสาบแคสเปียนไปยังตลาดตะวันตกแต่เพียงผู้เดียว
 
=== ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก ===
==== สหภาพยุโรป ====
ยูเครนและสหภาพยุโรปได้จัดทำความตกลงภายใต้ Partnership and Cooperation Agreement ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2541 อย่างไรก็ตาม ความตกลงดังกล่าวมิได้ขยายไปถึงการจัดทำ Association Agreement ตามที่ยูเครนแสดงความประสงค์ โดยสหภาพยุโรปได้แต่ยอมรับถึงความประสงค์ของยูเครนที่จะยกระดับความสัมพันธ์ไปสู่การเป็น Association ระหว่างกันเท่านั้น ทั้งนี้ ปัจจัยสำคัญที่เป็นอุปสรรคต่อกระบวนการเข้าร่วมเป็นสมาชิก EU ของยูเครนคือ การที่ยูเครนยังไม่ได้รับการยอมรับว่ามีเศรษฐกิจระบบตลาดและยังมีปัญหาในเรื่องการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาอยู่มาก
 
รัฐบาลภายใต้การนำของนาง Tymoshenko น่าจะดำเนินนโยบายที่มุ่งกระชับความสัมพันธ์กับสหภาพยูโรปมากกว่ารัฐบาลชุดก่อน โดยเน้นการรวมตัวกับสหภาพยุโรปเป็นหลัก โดยเฉพาะการจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับสหภาพยุโรป เพื่อทดแทน Parnership and Cooperation Agreement ซึ่งสิ้นอายุไปเมื่อปลายปี 2550 ทั้งนี้ คาดว่ายูเครนยังคงไม่สามารถเข้าเป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปในรัฐบาลชุดนี้ได้ อย่างไรก็ตาม คาดว่ายูเครนยังจะสามารถเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกได้ในปี 2551 ภายหลังจากที่ได้ดำเนินการเจรจาทวิภาคีกับประเทศที่เกี่ยวข้องเมื่อปี 2550 ซึ่งน่าจะปูทางไปสู่การเข้าเป็นสมาชิก EU ได้ต่อไปในอนาคต
 
==== สหรัฐอเมริกา ====
เส้น 232 ⟶ 234:
ไทยมีความสัมพันธ์ทางการเมืองกับยูเครนตั้งแต่ยูเครนยังเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิรัสเซีย]] และ [[สหภาพโซเวียต]]ตามลำดับ หลัง[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]] ในช่วงปลายปี [[พ.ศ. 2534]] โดยสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งเคยรวมเป็นสหภาพโซเวียต ได้แยกตัวออกเป็นอิสระ และประกาศตัวเป็นเอกราชรวม 12 ประเทศ ไทยได้ให้การรับรองเอกราชของประเทศเหล่านี้ เมื่อวันที่ [[26 ธันวาคม]] พ.ศ. 2534 ต่อมาไทยได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับยูเครน เมื่อวันที่ [[6 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2535]] โดยให้อยู่ในเขตอาณาของสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงมอสโก และล่าสุดในปี 2550 ได้แต่งตั้งนายมิโคโล ราดุดสกี (Mykhajlo Radoutskyy) เป็นกงสุลกิตติมศักดิ์ประจำยูเครน ส่วนยูเครนได้ตั้งสถานเอกอัครราชทูตยูเครนประจำประเทศไทยขึ้น เมื่อวันที่ [[21 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2545]] โดยมีนายอีกอร์ ฮูเมนนี (Ihor Humennyi) ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตยูเครนประจำประเทศไทย และ มีนายปรีชา ถิรกิจพงศ์ ดำรงตำแหน่งกงสุลกิตติมศักดิ์ยูเครนประจำประเทศไทย
 
* เศรษฐกิจและการค้า
{{โครง-ส่วน}}
 
* การท่องเที่ยว
{{โครง-ส่วน}}
 
* การแลกเปลี่ยนการเยือน
** ฝ่ายไทย
{{โครง-ส่วน}}
 
** ฝ่ายยูเครน
{{โครง-ส่วน}}
 
== กองทัพ ==
เส้น 253 ⟶ 255:
== เศรษฐกิจ ==
=== ศักยภาพทางเศรษฐกิจ ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== แหล่งพลังงาน ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== การท่องเที่ยว ===
{{บทความหลัก|การท่องเที่ยวในประเทศยูเครน}}
{{โครง-ส่วน}}
 
== โครงสร้างพื้นฐาน ==
=== การคมนาคม และ โทรคมนาคม ===
==== คมนาคม ====
{{โครง-ส่วน}}
 
==== โทรคมนาคม ====
{{โครง-ส่วน}}
 
=== วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== การศึกษา ===
{{บทความหลัก|การศึกษาในยูเครน}}
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สาธารณสุข ===
{{โครง-ส่วน}}
 
== ประชากร ==
=== เชื้อชาติ ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== ศาสนา ===
{{บทความหลัก|ศาสนาในยูเครน}}
{{โครง-ส่วน}}
 
=== ภาษา ===
{{บทความหลัก|ภาษาในยูเครน}}
{{โครง-ส่วน}}
 
=== กีฬา ===
เส้น 296 ⟶ 298:
==== ฟุตบอล ====
{{บทความหลัก|สมาคมฟุตบอลยูเครน|ฟุตบอลทีมชาติยูเครน|ฟุตซอลทีมชาติยูเครน}}
{{โครง-ส่วน}}
 
==== มวยสากล ====
{{บทความหลัก|สมาคมมวยสากลยูเครน|มวยสากลในยูเครน}}
{{โครง-ส่วน}}
 
== วัฒนธรรม ==
เส้น 309 ⟶ 311:
 
=== วรรณกรรม ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== ดนตรี และ นาฎศิลป์ ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== อาหาร ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สื่อสารมวลชน ===
{{บทความหลัก|สื่อสารมวลชนในยูเครน}}
{{โครง-ส่วน}}
 
=== วันหยุด ===
{{บทความหลัก|รายชื่อวันสำคัญของยูเครน}}
{{โครง-ส่วน}}
 
== อ้างอิง ==
เส้น 352 ⟶ 354:
{{ยุโรป}}
{{พันธมิตรนอกนาโต}}
 
[[หมวดหมู่:ประเทศยูเครน| ]]
[[หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2534]]