ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมาจิ้งจอกทอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
| status_ref = <ref name="iucn">{{IUCN2006|assessors=Sillero-Zubiri & Hoffmann|year=พ.ศ. 2547|id=3744|title=Canis aureus|downloaded=5 พฤษภาคม พ.ศ. 2549}} Database entry includes justification for why this species is of least concern</ref>
| image = Golden Jackal - Corbett National Park.jpg
| image_caption =[[หมาจิ้งจอกหิมาลายันหิมาลัย]] หรือหมาจิ้งจอกอินเดีย (''C. a. indicus'') ใน[[อุทยานแห่งชาติจิม คอร์เบตต์]] ในประเทศอินเดีย<br> {{audio|Jackal.ogg|เสียงหมาจิ้งจอกทองหอน}}
 
| regnum = [[Animal]]ia
บรรทัด 39:
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]<ref name="itis"/>
}}
'''หมาจิ้งจอกทอง'''<ref name=กอง/> หรือ '''หมาจิ้งจอกเอเชีย'''<ref name=กอง/> ({{lang-en|Goldengolden jackal, Commoncommon jackal, Asiatic jackal, Eurasian golden jackal,<ref>{{cite journal|last1=Koepfli|first1=K.-P.|last2= Pollinger|first2=J.|last3= Godinho|first3=R.|last4= Robinson|first4=J.|last5= Lea|first5=A.|last6= Hendricks|first6=S.|last7= Schweizer|first7=R. M.|last8= Thalmann|first8=O.|last9= Silva|first9=P.|last10= Fan|first10=Z.|last11= Yurchenko|first11=A. A.|last12= Dobrynin|first12=P.|last13= Makunin|first13=A.|last14= Cahill|first14=J. A.|last15= Shapiro|first15=B.|last16= Álvares|first16=F.|last17= Brito|first17=J. C.|last18= Geffen|first18=E.|last19= Leonard|first19=J. A.|last20= Helgen|first20=K. M.|last21= Johnson|first21=W. E.|last22= O’Brien|first22=S. J.|last23= Van Valkenburgh|first23=B.|last24= Wayne|first24=R. K.|title=Genome-wide Evidence Reveals that African and Eurasian Golden Jackals Are Distinct Species|journal=Current Biology|volume=25|issue= | pages= 2158–65|url= http://www.cell.com/current-biology/abstract/S0960-9822%2815%2900787-3|date= 2015-08-17|doi= 10.1016/j.cub.2015.06.060|pmid=26234211|pmc=}}</ref>}}, Reedreed wolf)<ref>{{cite news|url=http://www.fileden.com/files/2008/1/6/1683128/Nwjz/vol5/nwjz.051135.Toth.pdf |title=Records of the golden jackal (''Canis aureus'' Linnaeus, 1758) in Hungary from 1800th until 2007, based on a literature survey |journal=North-Western Journal of Zoology |author1=Tamás Tóth |author2=László Krecsák |author3=Eleonóra Szűcs |author4=Miklós Heltai |author5=György Huszár |volume=5 |issue=2 |year=2009 |pages=386–405 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/20121004124108/http://www.fileden.com:80/files/2008/1/6/1683128/Nwjz/vol5/nwjz.051135.Toth.pdf |archivedate=October 4, 2012 }}</ref>) จัดอยู่ใน[[ไฟลัม]][[สัตว์มีแกนสันหลัง]] ชั้น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] อันดับ[[สัตว์กินเนื้อ]] มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Canis aureus'' ใน[[Canidae|วงศ์สุนัข]] (Canidae) และถึงแม้ว่าจะได้ชื่อสามัญว่าในภาษาไทยว่า "หมาจิ้งจอก" แต่ก็มิได้เป็นหมาจิ้งจอกแท้ ๆ เพราะมิได้อยู่ในสกุล [[Vulpini]] แต่จัดเป็น[[แจ็คเกิลแจ็กคัล|หมาป่าที่มีขนาดเล็ก]] (แจ็คเกิลแจ็กคัล) กว่า[[หมาใน]]<ref>[http://www.messybeast.com/genetics/hybrid-canines.htm HYBRID CANINES]</ref>
 
==ลักษณะและพฤติกรรม==
บรรทัด 46:
มีความยาวลำตัวและหัว 60–75 [[เซนติเมตร]] ความยาวหาง 20–25 เซนติเมตร น้ำหนัก 8–9 [[กิโลกรัม]] กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง จึงทำให้มี[[ชนิดย่อย]] ถึง 13 ชนิด (ดูในตาราง<ref name="itis">{{ITIS|id=183817|taxon=''Canis aureus''}}</ref>) พบตั้งแต่ใน[[ยุโรปตะวันออก]], [[แอฟริกาเหนือ]], [[แอฟริกาตะวันออก]], [[ตะวันออกกลาง]], [[ปากีสถาน]], [[อัฟกานิสถาน]], [[อินเดีย]], [[เนปาล]], [[สิกขิม]], [[ภูฏาน]], [[พม่า]], [[ไทย]], ภาคเหนือของ[[กัมพูชา]], [[ลาว]] และภาคกลางของ[[เวียดนาม]]
 
หมาจิ้งจอกทอง สามารถปรับตัวให้อาศัยอยู่ในภูมิประเทศที่หลากหลายได้ ทั้ง [[ป่าเต็งรัง]], [[ป่าเบญจพรรณ]] หรือพื้นที่เสื่อมโทรมตามหมู่บ้าน กินอาหารได้หลากหลาย ทั้ง[[พืช]]และ[[สัตว์]] เช่น [[นก]], [[สัตว์เลื้อยคลาน]], [[สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ]], ซากพืช ซากสัตว์ บางครั้งอาจขโมยอาหารหรือสัตว์เลี้ยงจาก[[มนุษย์]] หรืออาจจะล่าสัตว์กีบขนาดเล็ก เช่น ลูกกวาง, ลูกแอนทีโลป เป็นอาหารได้<ref name="meetW">''MEET THE JACKALS'', "Animal Planet Sunday Showcase" สารคดีทางแอนิมอลพลาเน็ต. ทางทรูวิชั่นส์: อาทิตย์ที่ 22 ธันวาคม 2556</ref> หมาจิ้งจอกทองมีระบบประสาทตา หู จมูก ดีเยี่ยม ในช่วงผสมพันธุ์อาจพบเห็นอยู่ด้วยกันเป็นคู่ ออกล่าเหยื่อใน[[กลางคืน|เวลากลางคืน]]และพักผ่อนใน[[กลางวัน|เวลากลางวัน]] แต่บางครั้งอาจพบเห็นได้ช่วงพลบค่ำหรือเช้าตรู่ ชอบส่งเสียงหอน ''"ว้อ"'' เป็นระยะ ๆ ตลอดทั้งคู่ มีพฤติกรรมจับคู่อยู่เป็นผัวเดียวเมียเดียวตลอดชีวิต ตัวผู้มีหน้าที่เลี้ยงดูครอบครัว ขณะที่ตัวเมียจะทำหน้าที่เลี้ยงลูกเป็นหลัก แต่ก็อาจช่วยตัวผู้ล่าเหยื่อได้ในบางครั้งที่เหยื่อมีขนาดใหญ่<ref name="meetW"/> สามารถผสมพันธุ์ได้ตลอดทั้งปี ออกลูกครั้งละ 3–5 ตัว ระยะเวลาตั้งท้องนาน 9 สัปดาห์ มีระยะเวลาการให้นมลูก 60–63 วัน เมื่อตัวแม่ออกไปหาอาหารมักทิ้งลูกในอยู่ตามลำพัง มีอายุยืนประมาณ 12 ปี ปัจจุบันจัดเป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]] ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535]] <ref name=กอง>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=กองทุนสัตว์ป่าโลก
|ชื่อหนังสือ=สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน