ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำพริก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6553629 สร้างโดย 49.230.212.158 (พูดคุย)
Foxbooking (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 7:
 
== ความหลากหลายของน้ำพริก ==
* น้ำพริกทางภาคใต้เรียกว่า '''น้ำชุบ''' องค์ประกอบหลักคือ [[พริก]] [[หอม]]และ[[กะปิ]] มีเอกลักษณ์ คือ ไม่ผสม[[น้ำมะนาว]]หรือน้ำตาล จึงมีลักษณะแห้ง ถ้าผสมให้เข้ากันด้วยมือเรียกน้ำชุบหยำหรือน้ำชุบโจร ถ้าตำให้เข้ากันเรียกน้ำชุบเยาะ ถ้าตำแล้วผัดให้สุกเรียกว่าน้ำชุบผัดหรือน้ำชุบคั่วเคี่ยว น้ำชุบของภาคใต้นี้กินกับผักหลายชนิดทั้งผักสดและผักลวก<ref>อาหารการกินแห่งลุ่มทะเลสาบ. สงขลา: เครือข่ายสตรีรอบทะเลสาบสงขลา. 2551. หน้า 104-105</ref> เหตุที่ไม่ผสมน้ำมะนาว เนื่องจาก ชาวประมงในภาคใต้เมื่อออกเรือเป็นเวลาแรมเดือน หามะนาวได้ยาก จึงประกอบน้ำพริกโดยไม่ผสมน้ำมะนาว และเหตุที่เรียกว่า น้ำชุบ คือ การที่นำผักมาชุบกับน้ำพริกแห้ง<ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/3/2014-12-19/13/|title=ครัวคุณต๋อย |date=19 December 2014|accessdate=19 December 2014|publisher=ช่อง 3}}</ref>
* น้ำพริกภาคเหนือ เครื่องปรุงทุกอย่างต้องย่างหรือเผาให้สุกก่อน ปรุงรสด้วยเกลือเป็นหลัก <ref>ครัวล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ 2.กทม. แสงแดด. 2550. หน้า 13</ref>
* น้ำพริกภาคอีสาน ที่สำคัญมีสามอย่างคือ <ref>จริยา เดชกุญชร. อาหารไทยภาคอีสาน. กทม. เพชรในเรือน. 2552</ref>