ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
แนวความคิดที่จะนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบนั้น มีมาตั้งแต่ [[พ.ศ. 2507]] ซึ่งผู้บริหารและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยได้ยื่นหลักการต่อ [[จอมพลถนอม กิตติขจร]] นายกรัฐมนตรี ซึ่งก็ไม่ได้รับการเห็นชอบ เพียงแต่ได้มีการจัดตั้ง "[[ทบวงมหาวิทยาลัย]]" ขึ้น เพื่อดูแลมหาวิทยาลัยต่าง ๆ แทน "[[สำนักนายกรัฐมนตรี]]" ดังนั้น ในยุคนี้ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ จึงได้ย้ายไปสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย จากเดิมที่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี แต่อย่างไรก็ตาม มหาวิทยาลัยก็ยังคงอยู่ภายใต้กฎหมายระเบียบของระบบราชการเช่นเดิม ซึ่งทำให้ขาดความคล่องตัวในการดำเนินงาน จึงได้มีความพยายามที่จะนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบราชการเรื่อยมา <ref>[http://www.culi.chula.ac.th/tic/out.html มหาวิทยาลัยออกนอกระบบ คืออะไร : ศาสตราจารย์ ดร.เกษม สุวรรณกุล]</ref>
และในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ เมื่อปี [[พ.ศ. 2541]] นโยบายการออกนอกระบบก็ได้เป็นข้อตกลงหนึ่งที่ผูกพันกับสัญญาการกู้ยืมเงินกับ [[กองทุนการเงินระหว่างประเทศ|IMFธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB)
]] โดยมุ่งหมายของรัฐบาลเพื่อลดงบประมาณในส่วนราชการที่สามารถเลี้ยงตนเองและบริหารงบ?ประมาณเองได้ ในช่วงปี [[พ.ศ. 2542]] เริ่มมีการเสนอให้มหาวิทยาลัย หรือคณะฯ ที่ตั้งขึ้นใหม่ "ออกนอกระบบ" ราชการ และมีการหยุดรับ[[ข้าราชการพลเรือน]]เข้ามาใน[[มหาวิทยาลัยรัฐ]]เดิมทั้งหมด ตำแหน่งที่บรรจุเข้ามาใหม่ เรียกว่า "[[พนักงานมหาวิทยาลัย]]" ซึ่งมีกรอบเงินเดือนและสวัสดิการแตกต่างจากข้าราชการพลเรือนเดิม และหากผู้ที่เกษียณราชการไปให้ตำแหน่งและเงินเดือนนั้นเปลี่ยนเป็นตำแหน่งพนักงานมหาวิทยาลัยในตำแหน่งเริ่มบรรจุใหม่เท่านั้น
 
เริ่มมีความพยายามนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบอีกครั้งตั้งแต่รัฐบาล[[ทักษิณ ชินวัตร]] แต่มีการคัดค้าน ดังนั้น จึงยังไม่มีการนำมหาวิทยาลัยออกนอกระบบในช่วงนี้ ต่อมาในสมัยรัฐบาล [[สุรยุทธ์ จุลานนท์|พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์]] โดย ศ.ดร.[[วิจิตร ศรีสอ้าน]] รัฐมนตรีศึกษาธิการ ก็ได้เสนอ ครม.และ สนช. ให้ผ่านร่าง พ.ร.บ.มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐของแต่ละมหาวิทยาลัยอีกครั้ง