ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เศษส่วน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 26:
=== เศษส่วนที่เทียบเท่ากัน ===
[[ไฟล์:Fraction2 3.svg|thumb|300px|{{เศษ|2|3}} เทียบเท่ากับ {{เศษ|4|6}}]]
เศษส่วนที่เทียบเท่ากับอีกเศษส่วนหนึ่ง สามารถหาได้จาก[[การคูณ]]หรือ[[การหาร]]ทั้งตัวเศษและตัวส่วนด้วยจำนวนที่เท่ากัน (ไม่จำเป็นต้องเป็นจำนวนเต็ม) เนื่องจากจำนวน ''n'' ที่คูณหรือหารทั้งตัวเศษและตัวส่วน คือเศษส่วน {{เศษ|n|n}} ที่มีค่าเท่ากับ 1 ดังนั้นปริมาณของเศษส่วนจึงไม่เปลี่ยนแปลง ตัวอย่างเช่น กำหนดเศษส่วน {{เศษ|1|2}} เมื่อคูณด้วย 2 ทั้งตัวเศษและตัวส่วนจะได้ผลลัพธ์เป็น {{เศษ|2|4}} ซึ่งยังคงมีปริมาณเท่ากับ {{เศษ|1|2}} จึงกล่าวได้ว่า {{เศษ|2|4}} เทียบเท่ากับ {{เศษ|1|2}} เมื่อลองจินตนาการจะพบว่าสองในสี่ส่วนของเค้กหนึ่งก้อน ไม่แตกต่างจากการแบ่งเค้กครึ่งก้อน
เศษส่วนที่เทียบเท่ากับอีกเศษส่วนหนึ่ง สามารถหาได้จาก[[การคูณ]]หรือ[[การหาร]]ÍĠÉĎĎĎĎĎĎĎĎĎĎĎĎĎĎĎĎĎĎĤðและตัวส่วนด้วยจำนวนที่เท่ากัน (ไม่จำเป็นต00000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000000 0000000000000000000000000000000Đ
 
การหารเศษส่วนด้วยจำนวนที่เท่ากัน (ซึ่งจะไม่ใช้ 0 เป็นตัวหาร) เป็นการตัดทอนหรือการลดรูปเศษส่วนให้มีตัวเลขน้อยลง สำหรับเศษส่วนที่ตัวเศษและตัวส่วนไม่มี[[ตัวประกอบ]]ร่วมอื่นใดนอกจาก 1 กล่าวคือไม่มีตัวเลขอื่นนอกจาก 1 ที่สามารถหารแล้วได้เศษส่วนสามัญ เรียกว่า [[เศษส่วนอย่างต่ำ]] ตัวอย่างเช่น {{เศษ|3|8}} เป็นเศษส่วนอย่างต่ำเพราะมีตัวประกอบร่วมเพียงตัวเดียวคือ 1 ในทางตรงข้าม {{เศษ|3|9}} ไม่เป็นเศษส่วนอย่างต่ำเนื่องจากยังสามารถหารด้วย 3 ได้อีกเป็น {{เศษ|1|3}}
 
นอกจากนั้นการเปรียบเทียบปริมาณของเศษส่วน หากไม่สามารถจินตนาการหรือวาดรูปได้ จำเป็นต้องสร้างเศษส่วนที่เทียบเท่าขึ้นมาใหม่โดยให้มีตัวส่วนเท่ากันก่อนจึงจะสามารถเปรียบเทียบได้ ซึ่งตัวส่วนดังกล่าวสามารถคำนวณได้จากการคูณตัวส่วนทั้งสอง หรือจาก[[ตัวคูณร่วมน้อย]] ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการเปรียบเทียบระหว่าง {{เศษ|3|4}} กับ {{เศษ|11|18}} ตัวส่วนสำหรับการเปรียบเทียบคือ ครน. ของ 4 กับ 18 มีค่าเท่ากับ 36 ดังนั้นจะได้เศษส่วนที่เทียบเท่าได้แก่ {{เศษ|27|36}} กับ {{เศษ|22|36}} ตามลำดับ ทำให้ทราบได้ว่า {{เศษ|3|4}} มีปริมาณมากกว่า {{เศษ|11|18}}
 
=== เศษส่วนซ้อน ===