ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยุทธการที่วอเตอร์ลู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox Military Conflict
| conflict = ยุทธการวอเตอร์ลู
| partof = [[สงครามสัมพันธมิตรครั้งที่เจ็ด]]<!-- War of the Seventh Coalition -->
| image = [[ไฟล์:Wellington at Waterloo Hillingford.jpg|300310px]]
| caption = ภาพ ''เวลลิงตันที่วอเตอร์ลู''
| caption = ''Wellington at Waterloo'' ผลงานของ [[โรเบิร์ต อเล็กซานเดอร์ ฮิลลิงฟอร์ด]]
| date = [[18 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1815]]
| place = [[วอเตอร์ลู, เบลเยียม|เมืองวอเตอร์ลู]] ทางใต้ของ[[กรุงบรัสเซลส์]] [[ประเทศเบลเยียม]]ปัจจุบัน
บรรทัด 9:
| result = พันธมิตรต่อต้านนโปเลียนที่เจ็ดได้ชัยชนะเด็ดขาด
| combatant1 = {{flagicon|France}} [[จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1|จักรวรรดิฝรั่งเศส]]
| combatant2 = '''[[ฝ่ายสัมพันธมิตรครั้งที่ 7]]''':<br />{{flagicon|Prussia|1803}} [[ราชอาณาจักรปรัสเซีย]]<br />{{flagicon|UK}} [[สหราชอาณาจักร]]<br />[[ไฟล์:Prinsenvlag.svg|23px|สาธารณรัฐเนเธอร์แลนด์]] [[สาธารณรัฐดัตช์]]<br />{{flagicon|Hanover|1692}} [[ราชอาณาจักรฮาโนเวอร์]]<br />{{flagicon image|Flagge Herzogtum Nassau (1806-1866).svg}} [[แคว้นดยุคแห่งนัสเซา]]<br />{{flagicon image|Flagge Herzogtum Braunschweig.svg}} [[แคว้นดยุคแห่งบรันสวิก]]
| commander1 = {{flagicon|France}} [[นโปเลียน โบนาปาร์ต]]<br /> {{flagicon|France}} [[มีแชล แน]]
| commander2 = {{flagicon|UK}} [[อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน|ดยุกแห่งเวลลิงตัน]]<br />{{flagicon|Prussia|1803}} [[Gebhard Leberecht von Blücher|เกบฮาร์ดเกิบฮาร์ด ฟอน บลือเชอร์]]
| strength1 = 72,000<ref name=Hofschroer72-73>Hofschröer, pp. 72–73</ref>
| strength2 = อังกฤษ-พันธมิตร: 68,000<ref name=Hofschroer72-73/><br />ปรัสเซีย: 50,000<ref>Chesney, p. 4</ref>
บรรทัด 17:
| casualties2 = ตาย/บาดเจ็บ 22,000 คน<ref>Barbero, p. 419<br />กองทัพของเวลลิงตัน: ตาย 3,500 คน; บาดเจ็บ 10,200 คน; สูญหาย 3,300 คน<br />Blücher's army: ตาย 1,200 คน; บาดเจ็บ 4,400 คน; สูญหาย 1,400 คน</ref>
}}
'''ยุทธการที่วอเตอร์ลู''' เกิดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน 1815 ที่ [[วอเตอร์ลู|เมืองวอเตอร์ลู]] ซึ่งปัจจุบันอยู่ใน[[ประเทศเบลเยี่ยม]], ในขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของ [[สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์]]. กองทัพแห่ง[[First French Empire|ฝรั่งเศสยุคจักรพรรดิที่ 1]] ของ[[Emperor of the French|จักรพรรดินโปเลียนที่ 1]] ได้ปราชัยแก่กองทัพ[[Seventh Coalitionสงครามสัมพันธมิตรครั้งที่เจ็ด|พันธมิตรต่อต้านนโปเลียนสัมพันธมิตรที่ 7เจ็ด]], ภายใต้การนำทัพ แองโกลของของ [[Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington|ดยุกแห่งเวลลิงตัน]] รวมกับกองทัพ[[ปรัสเซีย]] ของ[[เกบฮาร์ดเกิบฮาร์ด เลเบอร์ไรช์ ฟอน บลือเชอร์|เกบฮาร์ดเลเบริชท์ ฟอน บลือเชอร์]] ซึ่งเป็นการสู้รบที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของ[[ในเคมเปญวอเตอร์ลู]]มเปญที่วอเตอร์ลู ผลของการสู้รบทำให้นโปเลียนสิ้นสุดหมดอำนาจการอย่างแท้จริง เป็นจักรพรรดิ หยุดจุดสิ้นสุดของ[[สมัยร้อยวัน|การขึ้นสู่อำนาจ 100 รัชสมัยร้อยวัน]] และนโปเลียนถูกเนรเทศไป[[เกาะเซนต์เฮเลนา]]
 
การกลับหวนคืนสู่อำนาจแผ่นดินยุโรปของนโปเลียนในปี 1815 ทำให้รัฐต่างๆ ร่วมรวมกันต่อต้านนโปเลียนเป็น[[สงครามสัมพันธมิตรครั้งที่ 7.เจ็ด|สัมพันธมิตรที่เจ็ด]] กองทัพจำนวนมากของเวลเลสลีย์ ดยุกแห่งเวลลิงตันและบลือเชอร์ได้ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส นโปเลียนวางแผนเข้าโจมตีเพื่อป้องกันไม่ให้กองทัพทั้งสอง เข้ารวมกับกองทัพของรัฐต่างๆ การตัดสินใจนี้เรียกว่าเคมเปญที่วอเตอร์ลู (16–19 มิถุนายน 1815) เวลลิงตันเคยกล่าวไว้ว่า สงครามนี้เป็น "the nearest-run thing you ever saw in your life" .<ref>[[q:Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington|Wikiquote:Wellington]] citing ''Creevey Papers'', ch. x, p. 236</ref>
 
นโปเลียนได้ชะลอการโจมตีถึงตอนเที่ยงวันที่ 18 เพื่อให้พื้นแห้ง ในขณะที่กองทัพของเวลลิงตันได้ประจำตำแหน่งไปตามถนนที่เนินมงต์-แซงต์-ฌอง ตั้งรับการโจมตีของฝรั่งเศสจนถึงตอนเย็น กองทัพของบลือเชอร์ได้มาถึงและเข้าโจมตีทางขวาของกองทัพฝรั่งเศส ร่วมกับกองทัพของดยุกแห่งเวลลิงตันที่ได้เข้าโจมตีกองทัพฝรั่งเศสจนหมดสภาพในการรบ กองกำลังผสมได้เข้าสู่ประเทศฝรั่งเศสและคืนอำนาจแก่หลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส นโปเลียนถูกถอดจากอำนาจและถูกเนรเทศไปเกาะเซนต์เฮเลนา
 
ปัจจุบันสมรภูมินี้อยู่ในประเทศเบลเยี่ยม ระยะทางประมาณ {{convert|8|mi|km}} จากทิศใต้ไปตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงบรัสเซล และ {{convert|1|mi|km}} จากเมืองวอเตอร์ลู ปัจจุบันมีรูปปั้นไลออนส์โมนด์ตั้งอยู่
บรรทัด 27:
==ต้นเหตุ==
{{Main|สมัยร้อยวัน}}
[[ไฟล์:Strategic Situation of Western Europe 1815.jpg|left|thumb|300250px|สถานการที่ยุโรปตะวันตกปี 1815 : ทหารฝรั่งเศส 250,000 นาย ต่อสู้กับพันธมิตรต่อต้านนโปเลียน 850,000 นาย โดยนโปเลียนยังต้องแบ่งกำลัง 20,000 นายไว้ที่ฝรั่งเศสตะวันตกเพื่อป้องกันกลุ่ม[[รอยัลลิสต์]] ]]
วันที่ 13 มีนาคม 1815, 6 วันก่อนนโปเลียนเดินทางถึงปารีส, [[สภาคอนเกรสการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา]][[s:Declaration at the Congress of Vienna|ได้ประกาศให้นโปเลียนเป็นคนนอกกฎหมาย]].<ref>[http://dl.lib.brown.edu/napoleon/time7.html Timeline: The Congress of Vienna, the Hundred Days, and Napoleon's Exile on St Helena], Center of Digital Initiatives, [[Brown University]] Library</ref> สี่วันต่อมา [[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์|สหราชอาณาจักร]], [[อาณาจักรจักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]], [[อาณาจักรออสเตียจักรวรรดิออสเตรีย|ออสเตรีย]], และ [[ปรัสเซีย]] ได้ยกกองทัพมาเพื่อกำจัดอำนาจของนโปเลียน<ref>{{Harvnb|Hamilton-Williams|1993|p=59}}</ref> นโปเลียนทราบว่า ถ้าเขาไม่สามารถป้องกันการโจมตีของมพันธมิตรต่อต้านนโปเลียนในการโจมตีฝรั่งเศสของฝ่ายสัมพันธมิตรได้แล้ว เขาต้องโจมตีกองทัพของพันธมิตรสัมพันธมิตรก่อนที่จะยกทัพมา เพื่อรักษาอำนาจที่ตนมี ถ้าหากเขาสามารถโจมตีกองกำลังผสมที่อยู่ทางตอนใต้ของกรุงบรัสเซล ได้สำเร็จแล้ว อาจจะทำให้กองทัพอังกฤษถอยทัพออกไปยังเกาะบริเตน และทำให้กองทัพปรัสเซียพ่ายแพ้
 
เหตุผลอีกประการหนึ่งคือในเขตนั้นมีกลุ่มผู้สนับสนุนที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสอยู่ (Francophone) ชัยชนะอาจทำให้เกิดการเข้าร่วมกับกองทัพฝรั่งเศส อีกประการหนึ่ง กองทัพอังกฤษที่นั่นเป็นทหารใหม่ กองทัพจำนวนมากที่เคยรบ[[สงครามคาบสมุทรสเปน]]ได้ถูกส่งไปประจำการที่อเมริกาใน[[สงคราม ค.ศ. 1812|สงครามปี 1812]]<ref>{{Harvnb|Chandler|1966|pp=1016, 1017, 1093}}</ref>การยกพลกองทัพไปผ่าน[[มงส์]]ไปยังบรัสเซลส์ มีจุดประสงค์เพื่อตั้งรับการโจมตีนของนโปเลียน <ref>{{Harvnb|Siborne<!--W-->|1990|p=82}}.</ref> การทำเช่นนี้ทำให้เวลลินตันไม่สามารถติต่อกับฐานบัญชาการที่[[ออสเตนด์]] แต่กองทัพของเขาจะใกล้กับบลือเชอร์มาก ฝั่งซ้ายของกองทัพควบคุมโดย[[มีแชล แน]] ฝั่งขวาควบคุมโดย[[เอ็มมานูเอล, มาร์กีสแห่งกรูชี|มาร์เชลกรูชี]] กองทัพฝรั่งเศสได้เข้าโจมตีป้อมของกลุ่มพัทธมิตร ในช่วงรุ่งอรุณของวันที่ 15 มิถุนายน ที่[[ชาร์เลอรัว]]
[[ไฟล์:Waterloo Campaign map-alt3.svg|thumb|300px|left|แผนที่แสดงยุทธการที่วอเตอร์ลู]]
การยกพลกองทัพไปผ่าน[[มองส์]]ไปยังบรัสเซลส์ มีจุดประสงค์เพื่อตั้งรับการโจมตีนของนโปเลียน <ref>{{Harvnb|Siborne<!--W-->|1990|p=82}}.</ref> การทำเช่นนี้ทำให้เวลลินตันไม่สามารถติต่อกับฐานบัญชาการที่[[ออสเตนด์]] แต่กองทัพของเขาจะใกล้กับบลือเชอร์มาก ฝั่งซ้ายของกองทัพควบคุมโดย[[Michel Ney|มิเชล เนย์]] ฝั่งขวาควบคุมโดย[[เอ็มมานูเอล, มาร์กีสแห่งกรูชี|มาร์เชลกรูชี]] กองทัพฝรั่งเศสได้เข้าโจมตีป้อมของกลุ่มพัทธมิตร ในช่วงรุ่งอรุณของวันที่ 15 มิถุนายน ที่[[ชาร์เลอรัว]]
 
==สมรภูมิ==
[[ไฟล์:Waterloo Campaign map-alt3.svg|thumb|300px|left|แผนที่แสดงยุทธการที่วอเตอร์ลู]]
สมรภูมิวอเตอร์ลูมีแนวสันเขาตามทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก มีถนนไปบรัสเซล์ตัดผ่านตรงกลางในแนวตั้งฉาก ทางยอดเขามีถนน[[Ohain, Belgium|โออัง]]และหุบเหวตื้น ที่จุดตัดของถนนไปบรัสเซล์มีต้นเอม ซึ่งเวลลิงตันได้ควบคุมการรบที่นั่น โดยใช้การรบบนเนินเขา<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|pp=78,79}}.</ref>ความยาวของกองทัพนั้นประมาณ {{convert|2.5|mi|km}} เวลลิงตันจึงสามารถนำกองทัพของเขารุกขึ้นมาได้ ซึ่งเขาทำในช่วงตอนกลางและฝั่งขวาไปยังหมู่บ้าน[[แบรน์-ลาลเลอด]]โดยหวังใช้กองทัพปรัสเซียมาถึงให้ทันเวลา<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|p=80}}.</ref>
ด้านหน้าสันเขามีจุดสำตัญที่สามารถใช้ป้องกันการโจมตีได้ ฝั่งขวาสุดมีชาโต สวน และสวมผลไม้ที่[[อูโกมองต์]]มีบ้านที่ซ่อนอยู่ท่ามกลางต้นไม้ซึ่งหันไปทางทิศเหนือ ตามแนวร่องเหว ฝั่งซ้ายสุดมีหมู่บ้านเล็กๆ ชื่อปาปล็อต(Papelotte) ซึ่งอูโกมองต์และปาปล็อตได้มีทหารประจำการ ซึ่งทำให้การโจมตีตามแนวขอบใช้ไม่ได้ และปาปล็อตยังยึดถนนไปวาเวรอ ซึ่งทหารปรัสเซียใช้เดินทางมา ทิศตะวันตกของถนนไปบรัสเซล์มีฟาร์มชื่อว่า[[ลาแอย์แซงต์]]มีทหารเบาแห่ง[[กองทหารแห่งกษัตริย์เยอรมัน]] 400 นายประจำการอยู่.<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|p=149}}.</ref> ด้านตรงข้ามของถนนมีเหมืองทราย ที่[[หน่วยไรเฟิลที่ 95]]ประจำการเป็นพลแม่นปืน<ref>{{Harvnb|Parry|1900|p=58}}.</ref>
ตำแหน่งของกองทัพเช่นนี้เป็นสิ่งที่ลำบากใจในการโจมตี การโจมตีต้องโจมตีที่อูโกมง ถ้าโจมตีตรงกลางจะถูงยิงทั้งสองด้าน คือทางอูโกมงและลาแอย์แซงต์ ฝั่งซ้ายจะถูกโจมตีที่ลาแอย์แซงต์ และเมืองปาปล็อต <ref>{{Harvnb|Barbero|2005|pp=141,235}}.</ref>
กองทัพฝรั่งเศสอยู่ทางใต้ของสันเขา นโปเลียนไม่เห็นตำแหน่งของเวลลิงตัน จึงเดินทัพไปทางถนนบรัสเซล ปีกขวามีกองที่ 1 นำทัพโดย[[ฌอง บัปติสท์ ดรูเอต,กงต์แห่งเดอลง|เดอลง]]มีทหารราบ 1,600 นาย ทหารม้า 1,500 นาย และสำรองอีก 4,700 ปีกซ้ายนำโดย[[เอเนอเร่ ชารลส์ รายยี|รายยี]] มีทหารราบ 1,300 นาย ทหารม้า 1,300 นายและสำรองอีก 4,600 นาย ตรงกลางถนนไปยัง[[ลา แบล อาลายยัง]]มีกำลังเสริมของโลโบ ประกอบด้วยทหารราบ 6,000 [[ทหารรักษาพระองค์]] 1,300 นาย และทหารท้าอีก 1,200 นาย<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|pp=83–85}}.</ref> In the right rear of the French position was the substantial village of [[Plancenoit]], and at the extreme right, the ''Bois de Paris'' wood. Napoleon initially commanded the battle from Rossomme farm, where he could see the entire battlefield, but moved to a position near ''La Belle Alliance'' early in the afternoon. Command on the battlefield (which was largely hidden from his view) was delegated to Ney.<ref>{{Harvnb|Barbero|2005|p=91}}.</ref>
 
== อ้างอิง ==