ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมมติฐาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peacearth (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6498751 สร้างโดย 180.180.145.110 (พูดคุย)
นัน
บรรทัด 1:
นัน คือ แม่ของ คีน 3/4 พ่อ ชื่อ กิต มีอา 3 คน คคนที่ ชื่อ ตา คนืี่สอง ชื่อ เน คนที่สาม ชื่อ โชติ มีปู่ 4 คน คนที่1 พัด 2.พิท กับ พจน์ 3.น้อย อยู่ เคซี 4 ซอย5 21/281 พ่อขับวิน เบอร์ 12 อยู่หน้าปากซอย
'''สมมติฐาน''' (หรือสะกดว่า '''สมมุติฐาน''') หรือ '''ข้อสันนิษฐาน''' คือการอธิบายความคาดหมายล่วงหน้าสำหรับปรากฏการณ์ที่สามารถสังเกตได้ มักใช้เป็นมูลฐานแห่งการหาเหตุผล [[การทดลอง]] หรือ[[การวิจัย]] ในทาง[[วิทยาศาสตร์]] นักวิทยาศาสตร์จะตั้งสมมติฐานจากสิ่งที่สังเกตการณ์ได้ก่อนหน้านี้ ซึ่งอาจไม่สามารถอธิบายได้อย่างชัดเจนด้วย[[ทฤษฎี]]ที่มีอยู่ในปัจจุบัน สำหรับในความหมายอื่น สมมติฐานอาจเป็น[[บรรพบท]]หรือ[[ญัตติ]]ที่จัดตั้งขึ้น เพื่อใช้ในการสรุปคำตอบของปัญหาประเภท ''ถ้าเป็นเช่นนี้ แล้วจะเป็นเช่นไร'' (what if)
 
== สมมติฐานทางวิทยาศาสตร์ ==
คนทั่วไปมักจะถือว่าการลองเดาคำตอบของปัญหาเป็นสมมติฐานอย่างหนึ่ง ซึ่งนั่นเรียกว่า ''การคาดเดาอย่างมีหลักการ'' <ref>
"When it is not clear under which law of nature an effect or class of effect belongs, we try to fill this gap by means of a guess. Such guesses have been given the name ''conjectures'' or ''[[hypothesis]]''."--[[Hans Christian Ørsted]] (1811) "First Introduction to General Physics" ¶18. ''Selected Scientific Works of Hans Christian Ørsted'', ISBN 0-691-04334-5 p.297</ref> เพราะมันเป็นคำตอบอันเป็นที่แนะนำซึ่งมีพื้นฐานอยู่บน[[หลักฐาน]] ในขณะที่ผู้ทำการทดลองอาจทดสอบและปฏิเสธสมมติฐานหลายอย่างก่อนที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหา สมมติฐานที่ดีอันควรจะนำไปพิจารณา ควรมีลักษณะดังนี้ <ref>{{cite book |author1=Schick, Theodore |authorlink1=Theodore Schick |author2=Vaughn, Lewis |title=How to think about weird things: critical thinking for a New Age |publisher=McGraw-Hill Higher Education |location=Boston |year=2002 |isbn=0-7674-2048-9}}</ref>
* สามารถปฏิบัติทดลองได้ (testability)
* เข้าใจง่าย (simplicity)
* มีขอบเขตชัดเจน (scope)
* สามารถอธิบายปรากฏการณ์อื่นได้ในอนาคต (fruitfulness)
* ยังคงองค์ความรู้เดิมอันเป็นที่ยอมรับ (conservatism)
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}