ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหี้ยดำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
}}
 
'''เหี้ยดำ''' หรือ '''มังกรดำ''' ({{lang-en|Black water monitor, Black dragon}}) มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์|ชื่อทางวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Varanus salvator komaini'' จัดเป็น[[ชนิดย่อย]]ของ[[เหี้ย]] (''V. salvator'') มีรูปลักษณะทั่วไปคล้ายเหี้ย แต่มีขนาดเล็กกว่ามาก และส่วนหางยาวกว่า เมื่อโตเต็มวัยจากปลายหัวถึงโคนหาง 50 เซนติเมตร หางยาว 60 เซนติเมตร [[สีดำ]]สนิทด้านทั้งตัว ไม่มีลายและจุดด่างเลย ท้องเทาเข้ม ลิ้น[[สีเทา]]ม่วง อุปนิสัยคล้าย[[Varanus togianus|ตะกวดดำ]] (''V. togianus'') ที่พบใน[[ปาปัวนิวกินี]] เหี้ยดำพบได้เฉพาะบริเวณ[[ชายฝั่ง|ชายทะเล]]หรือ[[ป่าชายเลน]]และบน[[เกาะ]]เล็ก ๆ ทางฝั่งตะวันตก[[ภาคใต้]]ฝั่งตะวันตกของ[[ประเทศไทย]][[สิ่งมีชีวิตถิ่นเดียว|เท่านั้น]] โดย[[holotype|สถานที่ค้นพบครั้งแรก]]คือ[[อำเภอละงู]] [[จังหวัดสตูล]] <ref name=ko/>และสถานที่ ๆ พบเหี้ยดำจะไม่พบเหี้ยเลย ไข่มีลักษณะเหมือนเหี้ยแต่มีขนาดเล็กกว่าและมีจำนวนเพียง 7 ฟองเท่านั้น
 
ปัจจุบัน เป็นสัตว์ชนิดหนึ่งที่อยู่ในภาวะสุ่มเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ และถือเป็น[[endemic species|สัตว์เฉพาะถิ่น]]<ref>[http://www.moohin.com/animals/reptiles-36.shtml เหี้ยดำ จากหมูหิน]</ref><ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจจัดทำหนังสือเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๖ รอบ ในปีพุทธศักราช ๒๕๔๒| ชื่อหนังสือ = สัตว์ถิ่นเดียวของประเทศไทย| URL = | จังหวัด = กรุงเทพมหานคร| พิมพ์ที่ = คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี| ปี =2542 | ISBN =974-7772-39-6 | จำนวนหน้า =109 | หน้า =79}}</ref>