ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทำนองเพลง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
# เพลงร๊อค เพลงป๊อป และเพลงพื้นบ้าน โดยทั่วไปจะยึดทำนองเพียง 1 หรือ 2 รูปแบบเท่านั้น แต่จะไปแตกต่างในส่วนของเนื้อร้องแทน
# เพลงแจ๊ส จะใช้แนวทำนองเดิมเป็นหลักในการด้นสด ไม่ยึดติดในรูปแบบทำนองเดิม แต่จะเปลี่ยนรูปแบบทำนองไปตามนักดนตรีแต่ละคน
ทิศทางการเคลื่อนที่ของทำนอง (Direction of Melody) ทำนองเพลงอาจเคลื่อนไปในหลายทิศทาง เช่น การเคลื่อนที่ขึ้น การเคลื่อนที่ลง อยู่กับที่ หรือการซ้ำของทำนอง โดยปกติทำนองมักจะเคลื่อนที่ถึงขั้นจุดสูงสุด เมื่อเนื้อหาของเพลงถึงจุดสำคัญที่สุด
พิกัดของทำนอง (Dimension of Melody) พิกัดของทำนองประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
ด้านความยาว (Length) หน่วยที่ใช้วัดความยาวของทำนองเพลงคือ ห้องเพลง (Measure หรือ Bar)
ด้านระดับความกว้างของเสียง (Range) หมายถึงระดับเสียงสูงสุด และต่ำสุดของบทเพลง
รูปร่างของทำนองเพลง (Contour of Melody) หมายถึงแนวเส้นที่ลากจากโน้ตทุกโน้ตของทำนองเพลง ตั้งแต่โน้ตแรก จนถึงโน้ตสุดท้าย ทำให้เกิดเป็นแนวเส้นที่เป็นรูปร่างของทำนองเพลง
จังหวะของทำนอง (Melodic Rhythm) หมายถึง ความสั้นยาวของระดับเสียงแต่ละเสียงที่ประกอบกันเป็นทำนอง
 
[[หมวดหมู่:เพลง]]