ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประวัติฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นก่อนโดนก่อกวน
บรรทัด 8:
# [[ยุคก่อนเครื่องจักรกล]] (Premachanical) (พ.ศ. 2497-2501) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum tube) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องยังมีขนาดใหญ่มาก ใช้กระแสไฟฟ้าจำนวนมาก ทำให้เครื่องมีความร้อนสูงจึงมักเกิดข้อผิดพลาดง่าย คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ UNIVAC I , IBM 600
# [[ยุคเครื่องจักรกล]] (Mechanical) (พ.ศ. 2502-2507) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจำ คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กกว่ายุคแรก ต้นทุนต่ำกว่า ใช้กระแสไฟฟ้าน้อยกว่า และมีความแม่นยำ
# [[ยุคเครื่องจักเครื่องจักรกลไฟฟ้าระบบอิเล็กทรอนิกส์]] (Electromechanical) (พ.ศ. 2508-2513) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจรไอซี (Integrated Circuit) เป็นสารกึ่งตัวนำที่สามารถบรรจุวงจรทางตรรกะไว้แล้วพิมพ์บนแผ่นซิลิกอน (Silicon) เรียกว่า "ชิป"
# [[ยุคเครื่องอิเล็กทรอนิกส์]] (Electronic) (พ.ศ. 2514-2523) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร LSI (Large-Scale Integrated Circuit) เป็นการรวมวงจรไอซีจำนวนมากลงในแผ่นซิลิกอนชิป 1 แผ่น สามารถบรรจุได้มากกว่า 1 ล้านวงจร ด้วยเทคโนโลยีใหม่นี้ทำให้เกิดแนวคิดในการบรรจุวงจรที่สำคัญสำหรับการทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์นั่นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียกว่า "ไมโครโปรเซสเซอร์โปรเชสเซอร์"
 
== คอมพิวเตอร์ในยุคเริ่มแรก ==
บรรทัด 19:
 
[[ไฟล์:Arts et Metiers Pascaline dsc03869.jpg|thumb|right|เครื่องคำนวณของปาสคาล]]
ในสมัยนั้นยังไม่มีเครื่องจักรใดที่สามารถทำตามคำสั่งหรือทำงานเองโดยอัตโนมัติได้แต่ใน [[พ.ศ. 2344]] นักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศสชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พยายามพัฒนา[[เครื่องทอผ้า]]โดยใช้ บัตรเจาะรูในการใส่คำสั่งให้ควบคุมเครื่องทอผ้าให้ทำตามแบบที่กำหนดไว้ และแบบดังกล่าวสามารถนำมา สร้างซ้ำๆ ได้อีกหลายครั้ง ความพยายามของ Jacquard สำเร็จลงใน [[พ.ศ. 2348]] เครื่องทอผ้านี้ถือว่าเป็น เครื่องทำงานตามคำสั่งเป็นเครื่องแรก และตั้งแต่ Jacquard ได้ประดิษฐ์สิ่งนี้ขึ้นมาทำให้มีเครื่องกลเกิดขึ้นมาหลายอย่าง และได้มีเครื่องมือชนิดหนึ่งที่ได้เปลี่ยนวงการของเครื่องคอมพิวเตอร์และการคำนวณ โดยอุปกรณ์ที่ว่านี้มีชื่อว่าเครื่องหาผลต่าง (Difference Engine) โดยเจ้าเครื่องนี้มีความคล้ายกับ[[เครื่องคิดเลข]]ในปัจจุบันนั่นเอง โดย Chales Babbage เป็นผู้สร้างเครื่องนี้ขึ้นมา ในปี [[พ.ศ. 25732373]] เขาได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาล[[อังกฤษ]]เพื่อสร้างเครื่อง Difference Engine ขึ้นมาจริงๆ แต่ในขณะที่ Babbage ทำการสร้างเครื่อง Difference Engine อยู่นั้น ได้พัฒนาความคิดไปถึงเครื่องมือในการคำนวณที่มีความสามารถสูงกว่านี้ ซึ่งก็คือเครื่องที่เรียกว่าเครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) และได้ยกเลิกโครงการสร้างเครื่อง Difference Engine ลงแล้วเริ่มต้นงานใหม่ คือ งานสร้างเครื่องวิเคราะห์ ในความคิดของเขา โดยที่เครื่องดังกล่าวประกอบไปด้วยชิ้นส่วนที่สำคัญ 4 ส่วน คือ
 
# ส่วนเก็บข้อมูล เป็นส่วนที่ใช้ในการเก็บข้อมูลนำเข้าและผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณ
บรรทัด 56:
 
=== คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514-2523) ===
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ วงจร LSI (Large Scale Integration) เป็นการรวมวงจรไอซีจำนวนมากลงในแผ่นซิลิกอนชิป 1 แผ่น สามารถบรรจุได้มากกว่า 1 ล้านวงจร ด้วยเทคโนโลยีใหม่นี้ทำให้เกิดแนวคิดในการบรรจุวงจรที่สำคัญสำหรับการทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์นั่นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียกว่า "[[ไมโครโพรเซสเซอร์]]"
 
=== คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (พ.ศ. 2524-ปัจจุบัน) ===
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ วงจร VLSI (Very-large-scale integration) เป็นการพัฒนาไมโครโปรเซสเซอร์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
 
== ก่อกำเนิด ไมโครโพรเซสเซอร์ ==
บรรทัด 74:
ในปลายปี [[ค.ศ. 1980|1980]] บริษัทไอบีเอ็มได้เกิดแผนกเล็ก ๆ ขึ้นมาแผนกหนึ่งเรียกว่า Entry Systems Division ภายใต้ทีมของคนชื่อว่า ดอน เอสทริดจ์ (Don Estridge) และนักออกแบบอีก 12 คน โดยได้รับมอบหมายให้พัฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของไอบีเอ็มโมเด็ล 5100 นั้นเอง โดยนำเอาจุดเด่นของเครื่อง ที่ขายดีมารวมไว้ในการออกแบบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม และผลิตจำหน่ายได้ภายในปีเดียวภายใต้ชื่อว่า ไอบีเอ็มพีซี (IBM PC) ซึ่งถูกเปิดตัวในเดือน สิหาคม ปี [[ค.ศ. 1981|1981]] และยอดขายของเครื่องพีซีก็ได้พุ่งอย่างรวดเร็ว ทำให้บริษัทอื่น ๆ เริ่มจับตามอง
 
== กำเนิด แอปเปิ้ล ==
 
ในปี [[ค.ศ. 1976|1976]] หลังจาก Stephen Wozniak และ Steve Jobs ได้ร่วมกันก่อตั้งบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer) และได้นำเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกที่ประดิษฐ์จากโรงรถออกมาขายโดยใช้ชื่อว่า Apple I ในราคา 695 เหรียญฯ บริษัทแอปเปิลได้ผลิตเครื่อง Apple I ออกมาไม่มากนัก ภายในปีเดียวได้ผลิต Apple II ออกมา และรุ่นนี้เป็นรุ่นเปิดศักราชแห่งวงการไมโครคอมพิวเตอร์ และเป็นการสร้างมาตรฐาน ที่ไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เกิดมาตามหลังทั้งหมด แต่ส่วนใหญ่แอปเปิ้ลจะขายระบบปฏิบัติการมากว่าขายเครื่องคอมพิวเตอร์ เนื่องจากเครื่องของ Intel และ IBM จะทำงานได้ดีกว่า
แก้ไข ประวัติฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ (เฉพาะส่วน)ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา คุณยังไม่ได้ทำการล็อกอิน เมื่อคุณแก้ไขหน้า หมายเลขไอพีของคุณจะถูกบันทึกอย่างเปิดเผยในประวัติการแก้ไขของหน้านี้ แต่ถ้าคุณสร้างบัญชีผู้ใช้ คุณจะสามารถปกปิดหมายเลขไอพีของคุณได้ รวมทั้งยังมีข้อดีอีกหลายประการ ข้อความที่ส่งไปยังหมายเลขไอพีของคุณสามารถดูได้ที่หน้าพูดคุยของคุณ
 
[[หมวดหมู่:ประวัติฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์| ]]
กรุณาอย่าบันทึกการทดลองเขียน กรุณาไปที่ วิกิพีเดีย:ทดลองเขียน แทน หากคุณมีคำถามเกี่ยวกับการใช้งาน ดูที่ วิกิพีเดีย:ถามการใช้งาน
{{โครงคอม}}
 
{{Link FA|fr}}
{{Link GA|zh}}
 
[[ar:تاريخ عتاد الحوسبة]]
[[az:Hesablama avadanlıqı tarixçəsi]]
[[bs:Historija računarstva]]
[[ca:Història dels ordinadors]]
[[cs:Dějiny počítačů]]
[[da:Fjerdegenerationsdatamat]]
[[dv:ކޮންޕިއުޓަރު ހާޑުވެޔަރގެ ތާރީހު]]
[[el:Ιστορία των υπολογιστών]]
[[en:History of computing hardware]]
[[es:Historia del hardware]]
[[fa:پیشینه سخت‌افزار رایانه]]
[[fi:Tietokonetekniikan historia]]
[[fr:Instrument de calcul]]
[[he:היסטוריה של המחשוב]]
[[hi:संगणन हार्डवेयर का इतिहास]]
[[hr:Povijest računarskog sklopovlja]]
[[hu:A számítógép története]]
[[id:Sejarah komputer]]
[[it:Storia del computer]]
[[ja:計算機の歴史]]
[[jv:Sajarah perkomputeran]]
[[ko:컴퓨터의 역사]]
[[mk:Историја на сметачите]]
[[ml:കമ്പ്യൂട്ടറുകളുടെ ചരിത്രം]]
[[ms:Sejarah perkembangan komputer]]
[[my:ကွန်ပျူတာ သမိုင်း]]
[[nl:Geschiedenis van de computer]]
[[no:Datamaskinens historie]]
[[oc:Istoric de l'informatica]]
[[pl:Komputer czwartej generacji]]
[[pt:História do hardware]]
[[ro:Istoria mașinilor de calcul]]
[[ru:История вычислительной техники]]
[[sk:Dejiny počítačov]]
[[sl:Generacija računalnikov]]
[[sq:Historia e kompjuterit]]
[[sr:Istorija računara]]
[[sv:Datorns historia]]
[[uk:Історія обчислювальної техніки]]
[[vi:Lịch sử phần cứng máy tính]]
[[zh:計算機硬體歷史]]