ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กำแพงเมืองเชียงใหม่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dinneaw (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
 
หลังจากที่เชียงใหม่ได้รับอิสรภาพจากพม่า เจ้ากาวิละ ได้รับการสถาปนาเป็น [[พระเจ้ากาวิละ|พระเจ้าบรมราชาธิบดี เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 1]] โปรดให้บูรณะกำแพงเมืองเป็นครั้งใหญ่ เป็นกำแพงอิฐที่มีความมั่นคงทนทาน และบูรณะอีกครั้งในปี พ.ศ. 2361 ในรัชสมัย[[พระยาธรรมลังกา|เจ้าหลวงธรรมลังกา เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 2]]<ref>วงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่, บรรณาธิการ, เจ้าหลวงเชียงใหม่, 2539, เชียงใหม่ : คณะทายาทสายสกุล ณ เชียงใหม่</ref>
 
ในสมัยมณฑลลาวเฉียง กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงเคยถวายความเห็นในการรื้อกำแพงเมืองเชียงใหม่ต่อพระพุทธเจ้าหลวงไว้ว่า ''"...เห็นว่าที่จะเอาตัวอย่างที่รื้อกำแพงพระนครกรุงเทพฯ ไปรื้อกำแพงเมืองเชียงใหม่นั้นไม่ควร กรุงเทพฯเพราะบ้านเมืองเบียดเสียดเยียดยัด ต้องรื้อกำแพงขยายเป็นถนนหนทาง แลจัดบ้านเมืองให้เรียบร้อย เหตุเช่นนี้ไม่มีในเมืองเชียงใหม่ เปนแต่จะรื้อเสียโดยเห็นว่าเปนของเก่ารุงรังเปลืองแรง ไม่คุ้มค่าที่ได้อิฐหักๆ มาใช้สอย เห็นว่าเอาไว้ดูเล่นเปนของโบราณดีกว่า..."''
 
ในปี พ.ศ. 2491 เนื่องจากกำแพงเมืองเชียงใหม่มีสภาพทรุดโทรมลงอย่างมาก และบางแห่งก็พังเป็นซากปรักหักพัง ทั้งยังมี[[วัชพืช]]ขึ้นเป็นการรกอย่างมาก อีกทั้งยังบดบังทัศนียภาพของคนที่อยู่นอกกำแพงเมือง ดังนั้นตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2500]] ทาง[[เทศบาลนครเชียงใหม่]] จึงได้เริ่มรื้อกำแพงออก เพื่อสร้างถนนและเส้นทางคมนาคมในตัวเมืองเชียงใหม่
 
กำแพงและคูเมืองเชียงใหม่ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ ในปี พ.ศ. 2478<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2478/D/3679.PDF ประกาศกรมศิลปากร กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ]</ref>
 
== ประตูเมืองเชียงใหม่ ==
[[ไฟล์:ThapaeGateChiangMai.jpg|230px|thumb|[[ประตูท่าแพ]]]]