ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เผด็จการทหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pi@k (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 4:
รัฐบาล'''เผด็จการทหาร'''ส่วนมากจัดตั้งหลักจาก[[รัฐประหาร]]ซึ่งล้มล้างอำนาจรัฐบาลชุดก่อนหน้า ตัวอย่างที่แตกต่างออกไปคือระบอบการปกครอง[[ซัดดัม ฮุสเซน]]ในประเทศ[[อิรัก]]ซึ่งเริ่มจากรัฐที่ปกครองโดย[[รัฐบาลพรรคเดียว]]โดย[[พรรคบะอัธ]] แต่เมื่อเวลาผ่านไปรัฐบาลดังกล่าวเปลี่ยนไปเป็นเผด็จการทหาร (ตามที่ผู้นำสวมเครื่องแบบทหารและกองทัพก็มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดในรัฐบาล)
 
[[ในอดีต]] เผด็จการทหารมักจะอ้างความชอบธรรมให้แก่พวกเขาเองว่าเป็นการสร้างความสมานฉันท์แก่ชาติ และช่วยชาติให้พ้นจากภัยคุกคามของ "อุดมการณ์ที่[[อันตราย]]" อันเป็น[[การสร้างการข่มขวัญ]] ในละตินอเมริกา ภัยคุกคามจาก[[ลัทธิคอมมิวนิสต์]]และ [[ทุนนิยม]] ถูกนำเป็นข้ออ้างในการรัฐประหาร คณะทหารมักจะกล่าวว่าพวกเขาเป็นพวกไม่ฝักใฝ่พรรคการเมืองใด เป็นคณะที่มีความเป็นกลาง สามารถจัดการกับความวุ่นวายที่เกิดขึ้นในระยะเวลาสั้นๆได้ และกล่าวว่านักการเมืองที่มาจากประชาชนนั้นคดโกงและไร้ประสิทธิภาพ ลักษณะร่วมประการหนึ่งของรัฐบาลทหาร คือการประกาศใช้[[กฎอัยการศึก]] หรือการประกาศ[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]] รัฐบาลทหารมักจะไม่เคารพต่อ[[สิทธิมนุษยชน]] และมักใช้วิธีการปิดปากศัตรูทางการเมือง รัฐบาลทหารมักจะไม่คืนอำนาจจนกว่าจะมีการปฏิวัติโดยประชาชนตินอเมริกา, อัฟริกา และ ตะวันออกกลาง เป็นพื้นที่ที่เป็นเผด็จการทหารบ่อยครั้ง เหตุผลหนึ่งคือทหารมีการประสานงานร่วมกัน และมีโครงสร้างของสถาบันที่เข้มแข็งกว่าสถาบันทางสังคมของประชาชน
 
[[ในปัจจุบัน]] การรัฐประหารในประเทศไทยที่เกิดขึ้นในเดิอนกันยายน มีความแตกต่างจากรัฐประหารในเดือนพฤษภาคม ดังต่อไปนี้
รัฐบาลทหารมักจะไม่เคารพต่อ[[สิทธิมนุษยชน]] และมักใช้วิธีการปิดปากศัตรูทางการเมือง รัฐบาลทหารมักจะไม่คืนอำนาจจนกว่าจะมีการปฏิวัติโดยประชาชน
1. การรัฐประหารเดือนพฤษภาคม ประชาชนมิเห็นชอบด้วย และได้ออกมาแสดงการต่อต้านเป็นจำนวนมาก
 
ส่วนการรัฐประหารเดือนกันยายน ประชาชนแสดงความสนับสนุนจากภาพข่าวที่มีการมอบดอกไม้ให้กับทหาร
ละตินอเมริกา, อัฟริกา และ ตะวันออกกลาง เป็นพื้นที่ที่เป็นเผด็จการทหารบ่อยครั้ง เหตุผลหนึ่งคือทหารมีการประสานงานร่วมกัน และมีโครงสร้างของสถาบันที่เข้มแข็งกว่าสถาบันทางสังคมของประชาชน
2. สาเหตุของการรัฐประหารในเดือนพฤษภาคม มาจากการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองเป็นหลัก
 
ส่วนสาเหตุของการรัฐประหารในเดือนกันยายน มาจากการต้องการให้องค์กรอิสระต่างๆสามารถตรวจสอบการทำงานของอดีตรัฐบาลได้ อันเป็นผลจากระบบตรวจสอบถูกแทรกแซงจากอดีตรัฐบาล
ตั้งแต่ทศวรรษที่ 199 เผด็จการทหารเริ่มลดลง เหตุผลหนึ่งมาจากข้อเท็จจริงที่ว่า เผด็จการทหารไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ และรัฐบาลทหารมักไม่ประสบความสำเร็จในการควบคุมประเทศไม่ให้เกิดการต่อต้านได้ นอกจากนี้ การสิ้นสุด[[สงครามเย็น]]ที่มีผลให้[[สหภาพโซเวียต]]สลายตัว ทำให้ทหารไม่สามารถใช้ข้ออ้างเรื่องลัทธิคอมมิวนิสต์ในการอ้างความชอบธรรมของตนเองได้อีกต่อไป
3. การรัฐประหารในเดือนพฤษภาคม ผู้เข้าบริหารประเทศเป็นคณะนายทหารโดยตรง
ส่วนการรัฐประหารในเดือนกันยายน ผู้เข้าบริหารประทศเป็นคนกลางที่ได้รับการคัดเลือกบุคคลที่มีประวัติดีและมีความซื่อสัตย์จากประวัติการรับราชการจนเกษ๊ยณอายุ และยังได้รับความไว้วางใจให้รับใช้ใต้เบื้องพระบาทฯ เป็นองค์มนตรี อีกด้วย
แม้ว่าการรัฐประหารเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามหลักประชาธิปไตย แต่หากพิจารณาถึงพระบรมราชโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ทรงกล่าวโดยสรุปว่า จะต้องให้คนดีปกครองบ้านเมืองเพื่อควบคุมคนไม่ดีไม่ให้ทำความเดือดร้อนแก่ชาติบ้านเมือง .
 
== กรณีตัวอย่าง ==