ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะธีนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
ในศาสนาและเทพปกรณัมกรีก '''อะธีนา''' ({{lang-en|Athena}}, {{IPA-en|əˈθinə}}) หรือ '''อะธีนี''' ({{lang-en|Athene}}) หรือ '''<!-- สะกดตามสัทอักษรสากล pæləs -->แพลลัสอธีนา/อะธีนี''' ({{lang-en|Pallas Athena/Athene}}, {{IPA-en|ˈpæləs}}) เป็นเทพเจ้าพรหมจรรย์แห่งปัญญา ความกล้า แรงบันดาลใจ อารยธรรม กฎหมายและความยุติธรรม การสงครามโดยชอบ คณิตศาสตร์ ความแข็งแกร่ง ยุทธศาสตร์ ศิลปะ งานฝีมือและทักษะ ภาคโรมัน คือ [[มิเนอร์วา]]
 
มีการพรรณนาอะธีนาว่าทรงเป็นพระสหายร่วมทางผู้เฉลียวฉลาดของวีรบุรุษและเทพเจ้าอุปถัมภ์การผจญภัยของวีรบุรุษ พระนางทรงเป็นเทพเจ้าพรหมจรรย์ผู้อุปถัมภ์กรุง[[กรุงเอเธนส์]] ชาวเอเธนส์ตั้ง[[วิหารพาร์เธนอน]]บน[[อะโครโพลิส]]ในกรุงเอเธนส์ (อะธีนาพาร์ธีนอส) เพื่อถวายเกียรติแด่พระนาง
 
== ปรัมปราวิทยา ==
 
เส้น 30 ⟶ 29:
 
=== นายหญิงแห่งเอเธนส์ ===
ตามตำนาน[[เทพปกรณัมกรีก]]เล่าว่า ที่มาของชื่อเมือง[[เอเธนส์]] (Athens) นั้น มาจากการที่ชาวกรีกจะตั้งชื่อเมืองแต่ไม่รู้จะใช้ชื่ออะไร [[โพไซดอน]] เทพแห่ง[[มหาสมุทร]] ผู้มีศักดิ์เป็นลุงของอะธีนา ใช้ตรีศูลอาวุธของตนสร้างม้าขึ้นมา (บ้างก็ว่าสร้างน้ำพุขึ้น) ชาวเมืองต่างพากันชื่นชมม้าเป็นอันมาก แต่เทพีอะธีนาได้เนรมิตต้นมะกอกขึ้นมา ซึ่งสามารถใช้ผลเป็นประโยชน์ได้ นอกจากนี้ มะกอก ยังเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพ ในขณะที่ม้าเป็นสัญลักษณ์ของสงคราม ชาวเมืองจึงตกลงใช้ชื่อเมืองว่า เอเธนส์ ตามชื่อของพระนาง และมะกอกก็กลายเป็น[[ผลไม้]]เศรษฐกิจสำคัญอันดับหนึ่งของ[[กรีซ]]มาจนปัจจุบัน
 
อาจกล่าวได้ว่า อะธีนา เป็นเทพที่ชาวกรีกให้ความนับถือมากที่สุดก็ว่าได้ ในสมัยโบราณมีการสร้างมหาวิหารเพื่อถวายแด่พระนาง คือ [[วิหารพาเธนอนอิเรกไทออน]] ซึ่งตั้งอยู่ที่เนิน[[อะโครโปลิส]] ที่กรุงเอเธนส์ในปัจจุบัน ใน[[การท่องเที่ยว]]ของกรีซ จะพบรูปปั้นขนาดเล็กของอะธีนาขายเป็นที่ระลึกอยู่ทั่วไป<ref>หน้า 30-50, ''กรีซ เทพเจ้าและดินแดนปรโลก'' โดย แคโรไลน์ อเล็กซานเดอร์. นิตยสารเนชั่นแนลจีโอกราฟฟิกฉบับภาษาไทย: ฉบับที่ 180 กรกฎาคม 2559</ref>
 
== อ้างอิงและเชิงอรรถ ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Athena|อะธีนา}}
{{เทพปกรณัมกรีก}}
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อะธีนา"