ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Lerdsuwa ย้ายหน้า จีพีเอส ไปยัง ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก ทับหน้าเปลี่ยนทาง
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
[[ไฟล์:Magellan GPS Blazer12.jpg|thumb|250px|เครื่องรับสัญญาณจีพีเอส แมเกลลัน เบลเซอร์]]
 
'''ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] (สืบค้นออนไลน์) </ref> หรือเรียกย่อว่า '''จีพีเอส''' ({{lang-en|Global Positioning System : GPS}}) หรือรู้จักในชื่อ '''นาฟสตาร์''' (Navstar) คือ[[ระบบบอกตำแหน่งดาวเทียมนำร่องโลก]] (์Global Navigation Satellite System : GNSS) เพื่อระบุข้อมูลของตำแหน่งและเวลาโดยอาศัยการคำนวณจากความถี่สัญญาณนาฬิกาที่ส่งมาจากตำแหน่งของดาวเทียมต่างๆ ที่โคจรอยู่รอบโลกซึ่งทราบตำแหน่ง ทำให้ระบบนี้สามารถบอกระบุตำแหน่ง ณ จุดที่สามารถรับสัญญาณได้ทั่วโลกและในทุกสภาพอากาศ โดยเครื่องรับสัญญาณจีพีเอส รุ่นใหม่ๆ จะรวมถึงสามารถคำนวณความเร็วและทิศทางเพื่อนำมาใช้ร่วมกับโปรแกรมแผนที่ เพื่อใช้ในการนำทางได้
 
== ประวัติ ==
จีพีเอสมีแนวคิดในการการพัฒนาระบบจีพีเอส เริ่มต้นตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1957]] เมื่อมื่อนักวิทยาศาสตร์ของ[[สหรัฐอเมริกา]] ติดตามการส่ง[[ดาวเทียมสปุตนิก]]ของ[[สหภาพโซเวียต]] และพบ[[ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์]]ของ[[คลื่นวิทยุ]]ที่ส่งมาจากดาวเทียม พวกเขาจึงพบว่าหากทราบตำแหน่งที่แน่นอนบนพื้นผิวโลก ก็สามารถระบุตำแหน่งของดาวเทียมได้จากการตรวจวัดดอปเปลอร์ และหากทราบตำแหน่งที่แน่นอนของดาวเทียม ก็สามารถระบุตำแหน่งบนพื้นโลกได้ ในทางกลับกัน
 
[[กองทัพเรือสหรัฐ]]ได้ทดลองระบบนำทางด้วยดาวเทียมระบบแรกคือ ชื่อทรานซิส '''(TRANSIT''') เป็นครั้งแรกเมื่อในปี [[ค.ศ. 1960]] ประกอบด้วยดาวเทียมจำนวน 5 ดวง ส่วนและดาวเทียมที่ใช้ในระบบจีพีเอส (GPS Block-I) ส่งขึ้นทดลองเป็นครั้งแรกเมื่อ [[ค.ศ. 1978]] เพื่อใช้ในทางการทหาร อย่งไรก็ตามในปี [[ค.ศ. 1983]] หลังจากเหตุการณ์[[โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007]] ของ[[เกาหลีใต้]] บินพลัดหลงเข้าไปในน่านฟ้าของสหภาพโซเวียต และถูกยิงตก ทำให้ผู้โดยสาร 269 คนเสียชีวิตทั้งหมด [[โรนัลด์ เรแกน]] [[ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา]] ประกาศว่าเมื่อพัฒนาจีพีเอสเสร็จแล้วจะอนุญาตให้ประชาชนทั่วไปใช้งานได้
 
== คุณสมบัติดาวเทียม ==
เมื่อ ค.ศ. 1983 หลังจากเกิดเหตุการณ์[[โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007]] ของ[[เกาหลีใต้]] บินพลัดหลงเข้าไปในน่านฟ้าของสหภาพโซเวียต และถูกยิงตก ผู้โดยสาร 269 คนเสียชีวิตทั้งหมด [[ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา|ประธานาธิบดี]][[โรนัลด์ เรแกน]]ประกาศว่า เมื่อพัฒนาระบบจีพีเอสแล้วเสร็จ จะอนุญาตให้ประชาชนทั่วไปใช้งานได้
ดาวเทียมของจีพีเอส เป็นดาวเทียมที่มีวงโคจรระดับกลาง (Medium Earth Orbit: MEO) ที่ระดับความสูงประมาณ 20,200 กิโลเมตร (12,600 ไมล์ หรือ 10,900 ไมล์ทะเล) จากพื้นโลก ใช้การยืนยันตำแหน่งโดยอาศัยพิกัดจากดาวเทียมอย่างน้อย 4 ดวง ดาวเทียมจะโคจรรอบโลกเป็นเวลา 4-8 ชั่วโมงต่อหนึ่งรอบ ที่ความเร็ว 4 กิโลเมตร/วินาที การโคจรแต่ละรอบนั้นสามารถได้เป็น 6 ระนาบๆ ละ 4 ดวง ทำมุม 55 องศา โดยทั้งระบบจะต้องมีดาวเทียม 24 ดวง หรือมากกว่า เพื่อให้สามารถยืนยันตำแหน่งได้ครอบคลุมทุกจุดบนผิวโลก ปัจจุบัน เป็นดาวเทียม GPS Block-II มีดาวเทียมสำรองประมาณ 4-6 ดวง
 
ดาวเทียมจีพีเอส เป็นดาวเทียมที่มีวงโคจรระดับกลาง (Medium Earth Orbit: MEO) ที่ระดับความสูงประมาณ 20,200 กิโลเมตร (12,600 ไมล์ หรือ 10,900 ไมล์ทะเล) จากพื้นโลก ใช้การยืนยันตำแหน่งโดยอาศัยพิกัดจากดาวเทียมอย่างน้อย 4 ดวง ดาวเทียมจะโคจรรอบโลกเป็นเวลา 4-8 ชั่วโมงต่อหนึ่งรอบ ที่ความเร็ว 4 กิโลเมตร/วินาที การโคจรแต่ละรอบนั้นสามารถได้เป็น 6 ระนาบๆ ละ 4 ดวง ทำมุม 55 องศา โดยทั้งระบบจะต้องมีดาวเทียม 24 ดวง หรือมากกว่า เพื่อให้สามารถยืนยันตำแหน่งได้ครอบคลุมทุกจุดบนผิวโลก ปัจจุบัน เป็นดาวเทียม GPS Block-II มีดาวเทียมสำรองประมาณ 4-6 ดวง
 
== เทคนิคการหาตำแหน่ง <ref>[http://www.kmutt.ac.th/rippc/journal48.htm Witchayangkoon, B. and P. Dumrongchai. 2009. Computational Linearized Least Square for 2D Positioning Analysis Using MathCad Programming. KMUTT Research and Development Journal.]</ref><ref>[http://gps-ppp.blogspot.com บุญทรัพย์ วิชญางกูร. 2009. private communication. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]</ref> ==
บรรทัด 63:
 
== ระบบอื่น ๆ ==
 
ระบบบอกพิกัดด้วยดาวเทียมอื่นๆ ที่คล้ายคลึงกับระบบจีพีเอส ในปัจจุบันมีหลายระบบ ได้แก่
 
* '''[[GLONASS]]''' (GLObal NAvigation Satellite System) เป็นระบบของ[[รัสเซีย]] ที่พัฒนาเพื่อแข่งขันกับสหรัฐอเมริกา ใช้งานได้สมบูรณ์ทั่วโลกตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2555
* '''[[Galileo]]''' เป็นระบบที่กำลังพัฒนาโดย[[สหภาพยุโรป]] ร่วมกับ[[จีน]] [[อิสราเอล]] [[อินเดีย]] [[โมร็อกโก]] [[ซาอุดิอาระเบีย]] [[เกาหลีใต้]] และ[[ยูเครน]] จะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2553
* '''[[Beidou]]''' เป็นระบบที่กำลังพัฒนาโดย[[ประเทศจีน]] โดยให้บริการเฉพาะบางพื้นที่ แต่ในอนาคตมีแผนที่จะพัฒนาโดยให้ครอบคลุมทั้วโลกโดยจะใช้ชื่อว่า [[COMPASS]]
 
ระบบที่เสริม GPS
* '''[[QZSS]]''' ระบบดาวเทียมของญี่ปุ่น ทำหน้าที่หลากหลาย ช่วยเสริมการหาตำแหน่งด้วย GPS โดยเน้นพื้นที่ประเทศญี่ปุ่น ที่มีอาคารสูงบดบังสัญญาณ GPS สำหรับ QZSS ถูกออกแบบให้มีวงโคจรเป็นเลข 8 โดยเต็มระบบจะประกอบด้วยดาวเทียม 3-4 ดวง