ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กล้วยน้ำว้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Esan108 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: ใส่ชื่อผู้ใช้ในบทความ
Kasettambon (คุย | ส่วนร่วม)
ชื่ออื่นๆ ต้นกำเนิด ชื่อสามัญ ชื่อภาษาอังกฤษ คุณค่าทางโภชนาการ การแปรรูป
ป้ายระบุ: ใส่ชื่อผู้ใช้ในบทความ การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 8:
| origin =
}}
'''ชื่ออื่นๆ''' : กล้วยใต้ (เชียงใหม่ เชียงราย) กล้วยอ่อง (ชัยภูมิ) กล้วยตานีอ่อง (อุบลราชธานี) กล้วยมะลิอ่อง (จันทบุรี)
 
'''ต้นกำเนิด'''  :  เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
 
'''ชื่อสามัญ'''  : Banana,Cultivated banana
 
'''ชื่อวิทยาศาสตร์'''  : Musa ABB CV. Kluai “Namwa”
 
'''ชื่อวงศ์'''  : Musaceae
 
'''ชื่อภาษาอังกฤษ''' : Cultivated banana<ref>[http://www.kasettambon.com/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%8D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%89%E0%B8%B2/]</ref>
 
'''กล้วยน้ำว้า''' เป็น[[กล้วย]]พันธุ์หนึ่ง พัฒนามาจากลูกผสมระหว่าง[[กล้วยป่า]]กับ[[กล้วยตานี]] บริโภคกันอย่างแพร่หลาย ปลูกง่าย รสชาติดี สำหรับกล้วยน้ำว้าแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ตามสีของเนื้อ คือ น้ำว้าแดง น้ำว้าขาว และน้ำว้าเหลือง คนไทยรับประทานกล้วยน้ำว้าทั้งผลสด ต้ม ปิ้ง และนำมาประกอบอาหาร นอกจากนี้ยังมีกล้วยน้ำว้าดำ ซึ่งเปลือกมีสีครั่งปนดำ แต่เนื้อมีสีขาว รสชาติอร่อยคล้ายกล้วยน้ำว้าขาว สำหรับกล้วยตีบเหมาะที่จะรับประทานผลสด เพราะเมื่อนำไปย่าง หรือต้มจะมีรสฝาด<ref>พันธุ์กล้วยในประเทศไทย, สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 30</ref>
 
เส้น 14 ⟶ 26:
== คุณค่าทางอาหารและยา ==
กล้วยน้ำว้าเมื่อเทียบกับกล้วยหอมและกล้วยไข่ กล้วยน้ำว้าจะให้พลังงานมากที่สุด กล้วยน้ำว้าห่ามและสุกมีธาตุเหล็กในปริมาณสูง ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง ป้องกันโรคโลหิตจาง มีแคลเซียม ฟอสฟอรัส และวิตามินซีช่วยบำรุงกระดูก ฟัน และเหงือกให้แข็งแรง ช่วยให้ผิวพรรณดี มีเบต้าแคโรทีน ไนอาซีนและใยอาหาร ช่วยให้ระบบขับถ่ายคล่องขึ้น กินกล้วยน้ำว้าสุก จะช่วยระบายท้องและสามารถรักษาโรคเลือดออกตามไรฟันในเด็กเล็กได้ ช่วยลดอาการเจ็บคอ เจ็บหน้าอกที่มีอาการไอแห้งร่วมด้วย โดยกินวันละ 4-6 ลูก แบ่งกินกี่ครั้ง ก็ได้ กินกล้วยก่อนแปรงฟันทุกวันจะทำให้ไม่มีกลิ่นปาก และผิวพรรณดี เห็นผลได้ใน 1 สัปดาห์ กล้วยน้ำว้าดิบและห่ามมีสารแทนนิน เพคตินมีฤทธิ์ฝาดสมาน รักษา อาการท้องเสียที่ไม่รุนแรงได้ โดยกินครั้งละครึ่งผล หรือ 1 ผล อาการท้องเสียจะทุเลาลง นอกจากนี้จากการศึกษาวิจัยยังพบว่า มีผลในการรักษาโรคกระเพาะได้อีกด้วย
 
== คุณค่าทางโภชนาการของกล้วยน้ำว้า ==
* น้ำ 75.7 กรัม
* พลังงาน 85 แคลอรี่
* โปรตีน 1.1 กรัม
* ไขมัน 0.2 กรัม
* คาร์โบไฮเดรต 22.2 กรัม
* เถ้า 0.8 กรัม
* แคลเซียม (Ca) 8.0 กรัม
* เหล็ก (Fe) 0.7 มิลลิกรัม
* โพแทสเซียม (K) 370 มิลลิกรัม
* แมกนีเซียม (Mg) 33 มิลิกรัม
* วิตามินเอ 190 IU
* วิตามินซี 10 มิลลิกรัม
* ไทอามีน (Thiamine) 0.05 มิลลิกรัม
* ไรโบฟลาวิน (Riboflavin) 0.06 มิลลิกรัม
* ไนอาซีน (Niacin) 0.7 มิลลิกรัม<ref>[http://www.kasettambon.com/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%8D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%89%E0%B8%B2/]</ref>
 
== การแปรรูปกล้วยน้ำว้า ==
กล้วยน้ำว้าสามารถแปรรูปได้หลากหลาย อย่างกล้วยน้ำว้าสุกสามารถใช้ทำเป็นขนม ของหวานต่างๆ อาทิ กล้วยเชื่อม กล้วยบวชชี มีลักษณะสีเหลืองทั้งเปลือก และเนื้อ มีรสหวาน เหนียวนุ่ม นำมารับประทานเป็นผลไม้ และทำขนมหวาน แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น กล้วยตาก หรือ ข้าวต้มมัด เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==
เส้น 22 ⟶ 54:
* [http://healthnet.md.chula.ac.th/text/forum2/vet/006.htm]
* [http://esan108.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7.html การปลูกกล้วยหัวกลับ]
* <ref>[http://www.kasettambon.com/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%8D%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%89%E0%B8%B2/ กล้วยนํ้าว้า กล้วยใต้ กล้วยอ่อง กล้วยตานีอ่อง กล้วยมะลิอ่อง ผลไม้เครือมากสรรพคุณ]</ref>
[[หมวดหมู่:กล้วย|น้ำว้า]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]