ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ปลาเสือตอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วไปในภูมิภาค[[เอเชียใต้]]จนถึง[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] พบได้ทั้งใน[[น้ำจืด]], [[น้ำกร่อย]] และ[[น้ำเค็ม]]
 
มีลักษณะโดยรวมคือ มีปากยาว ยืดหดได้ สีลำตัวเป็นสีเหลืองหรือส้ม มีลายพาดตามลำตัว 6-6–8 เส้น ขนาดเล็กใหญ่และจำนวนต่างไปตามแต่ชนิด และถิ่นที่อยู่อาศัย มีพฤติกรรมชอบลอยตัวอยู่นิ่ง ๆ ใต้น้ำ โดยส่วนหัวทิ่มลงเล็กน้อย กินสัตว์น้ำและแมลงเป็นอาหาร โดยวิธีการฉกงับ อย่างรวดเร็ว
 
เป็นปลาที่มีเนื้อรสชาติอร่อย แต่ปัจจุบันนี้ใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากการถูกจับเป็นจำนวนมาก และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามที่ราคาสูงด้วย
บรรทัด 47:
 
== การจำแนก ==
* [[ปลาเสือตอปาปัวนิวกินี]] (''Datnioides campbelli'') ขนาดลำตัวโตเต็มที่ประมาณ 36 เซนติเมตร พบในแหล่งน้ำบริเวณชายฝั่งใน[[นิวกินี]]มีซี่เหงือกน้อยกว่า ปลาชนิดอื่นๆ ในสกุลเดียวกัน และมีแถบลายที่ไม่ชัดเจน มีแถบขนาดเล็กแทรกระหว่าง แถบที่ 3 ขนาดใหญ่กลางลำตัว และแถบที่ 4 สีค่อนไปทางสีเงิน น้ำตาล จนไปถึงเหลืองอ่อนๆอ่อน ๆ เกล็ดมีขนาดใหญ่และหยาบ พบได้ในแหล่งน้ำกร่อยปากแม่น้ำ บึงใกล้ชายฝั่งเหนือระดับน้ำขึ้นน้ำลงแถบเกาะปาปัวนิวกีนี [[ประเทศอินโดนีเซีย]]
* [[Datnioides microlepis|ปลาเสือตออินโดนีเซีย]] (''Datnioides microlepis'') ขนาดลำตัวประมาณ 40 เซนติเมตร มีลักษณะใกล้เคียงกับปลาเสือตอลายใหญ่ แต่มีสีสันลำตัวและลายที่ไม่สดใสเท่า พบในอินโดนีเซีย
* [[ปลากะพงลาย]] (''Datnioides polota'') ขนาดลำตัวประมาณ 30 เซนติเมตร สีลำตัวออกขาวเหลือบเงิน เส้นลายมีขนาดเรียวเล็กที่สุด พบในบริเวณน้ำกร่อย ปากแม่น้ำ ตั้งแต่อินเดียจนถึงปาปัวนิวกินี
* [[ปลาเสือตอลายใหญ่]] (''Datnioides pulcher'') มีขนาดลำตัวที่ใหญ่ที่สุด มีลายแถบดำขนาดใหญ่ 5-5–6 เส้น หรือ 7 เส้น มีสีสันที่สดและสวยที่สุด พบใน[[ประเทศไทย]], [[กัมพูชา]] และ[[เวียดนาม]] มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ในธรรมชาติ
* [[ปลาเสือตอลายเล็ก]] (''Datnioides undecimradiatus'') ขนาดลำตัวประมาณ 30 เซนติเมตร สีออกขาว ลายมีเส้นเล็ก เกล็ดมีขนาดใหญ่กว่าเสือตอลายใหญ่ พบใน[[แม่น้ำโขง]]และลำน้ำสาขา