ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาแอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
แก้กำกวม จาก รัฐจอร์เจีย ดูเพิ่ม จอร์เจีย
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ขยายความ
บรรทัด 1:
{{Infobox Language
'''ภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย''' เป็นภาษาในกลุ่มอราเมอิกตะวันออก ไม่เกี่ยวข้องกับภาษาของชาวอัสซีเรียใน[[เมโสโปเตเมีย]]โบราณ มีผู้พูดราว 200,000 คน ใน[[อิรัก]] [[ซีเรีย]] [[อิหร่าน]] [[อาร์เมเนีย]] [[ประเทศจอร์เจีย|จอร์เจีย]] และ[[ตุรกี]] เขียนด้วย [[อักษรซีเรียค]] [[อักษรละติน]] และ[[อักษรฮีบรู]]
|name=ภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย
|nativename=<span dir="rtl">ܐܬܘܪܝܐ</span>&nbsp;''Ātûrāyâ'', <span dir="rtl">ܣܘܪܬ</span>&nbsp;''Sûret''
|states=[[อาร์เมเนีย]], [[ออสเตรเลีย]], [[ออสเตรีย]], [[อาร์เซอร์ไบจาน]], [[เบลเยียม]], [[บราซิล]], [[แคนาดา]], [[ไซปรัส]], [[ฝรั่งเศส]], [[จอร์เจีย]], [[เยอรมัน]], [[กรีซ]], [[อิหร่าน]], [[อิรัก]], [[อิตาลี]], [[เลบานอน]], [[เนเธอร์แลนด์]], [[นิวซีแลนด์]], [[รัสเซีย]], [[สวีเดน]], [[ซีเรีย]], [[สหรัฐอเมริกา]]
|region=[[ตะวันออกกลาง]], [[อเมริกาเหนือ]], [[ยุโรป]] & [[ออสเตรเลีย]]
|speakers=210,000 คน(fluent), มีชนกลุ่มน้อยชาวอัสซีเรีย 1-2 ล้านคนที่พูดสำเนียงอื่นๆ
|familycolor=Afro-Asiatic
|fam2=[[ภาษากลุ่มเซมิติก]]
|fam3=[[ภาษากลุ่มเซมิติกกลาง]]
|fam4=[[ภาษาอราเมอิก]]
|fam5=[[ภาษาอราเมอิกใหม่]]
|fam6=[[ภาษาอราเมอิกใหม่ตะวันออกเฉียงเหนือ]]
|iso2=syr|iso3=aii}}
 
'''ภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย''' เป็นรูปแบบใหม่ของภาษาอราเมอิกตะวันออกหรือ[[ภาษาซีเรียค]] แต่ไม่เกี่ยวข้องกับ[[ภาษาอัคคาเดีย]]ที่ใช้พูดในจักรวรรดิอัสซีเรีย หรือ[[ภาษาอราเมอิก]]ที่เป็นภาษากลางในจักรวรรดิอัสซีเรีย ในช่วง 257 ปีก่อนพุทธศักราช เริ่มแรกภาษานี้ ใช้พูดนบริเวณ[[ทะเลสาบอูร์เมีย]] ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอิหร่านและซิอิต ตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี ปัจจุบันมีผู้พูดกระจายไปทั่วโลก ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายอัสซีเรียแห่งตะวันออก มีผู้พูดราว 200,000 คน ใน[[อิรัก]] [[ซีเรีย]] [[อิหร่าน]] [[อาร์เมเนีย]] [[ประเทศจอร์เจีย|จอร์เจีย]] และ[[ตุรกี]] เขียนด้วย [[อักษรซีเรียค]] [[อักษรละติน]] และ[[อักษรฮีบรู]]
==จุดกำเนิด ประวติและการใช้ในปัจจุบัน==
 
เป็นภาษาที่สืบเนื่องมาจากภาษาอราเมอิกที่ใช้พูดโดยชาวยิวและชาวคริสต์ ซึ่งสำเนียงของสองกลุ่มนี้มีความแตกต่างกัน ได้รับอิทธิพลจากภาษาซีเรียค ซึ่งเป็นสำเนียงของภาษาอราเมอิกยุคกลางทางตะวันออก ซึ่งกลายเป็นภาษาทางศาสนาของชาวคริสต์ในเขตอารยธรรมอิสลาม ชุมชนชาวคริสต์ที่พูดภาษาอราเมอิกมักใช้สองภาษา คือภาษาซีเรียคในทางศาสนาและภาษาอราเมอิกในชีวิตประจำวัน สำเนียงของชาวคริสต์มักเรียก Sûret, Syriac, or Sûryāya Swādāya, ซึ่งหมายถึง Syriac. ชื่อ Assyrian (Ātûrāya หรือ Āsûrāya) มาจากนักภาษาศาสตร์ชาวรัสเซียที่ศึกษาภาษานี้ในผู้พูดที่อพยพเข้าไปในจอร์เจีย พวกเขาเรียกภาษานี้ว่า Айсорский, Aysorskiy, จากชื่อใน[[ภาษาอาร์เมเนีย]] Ասորի, Asori. ในช่วงพ.ศ. 2473 ชื่อของภาษานี้ในภาษารัสเซียคือ Ассирийский, Assiriyskiy, หรือAssyrian ใน[[ภาษาอังกฤษ]]
 
ภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรียมีหลายสำเนียง [[ภาษาอราเมอิกใหม่คัลเดีย]]อาจจัดเป็นภาษาเดียวกับภาษานี้ได้ ความแตกต่างที่สำคัญอยู่ระหว่างสำเนียง Alqosh ทางภาคเหนือของอิรัก และสำเนียงบริเวณอูร์เมียซึ่งกลายเป็นสำเนียงมาตรฐานของภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย การเปรียบเทียบระหว่างสองสำเนียงนี้ยังทำได้จำกัด
 
สำเนียงอูร์เมียเป็นที่รู้จักเมื่อ พ.ศ. 2379 เมื่อสำเนียงนี้ถูกนำไปใช้ในการตีพิมพ์ภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย โดยมิชชันนารี[[คณะเพรสไบทีเรียน]] ใน พ.ศ. 2395 มีการแปล[[ไบเบิล]]เป็นสำเนียงนี้และออกตีพิมพ์เผยแพร่ ระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] ชาวอัสซีเรียที่อยู่ในตุรกีถูกบังคับให้ต้องย้ายถิ่นฐาน ส่วนใหญ่อพยพไปอยู่ในอิรัก ทำให้เกิดสำเนียงใหม่ เรียก Iraqi Koine สำเนียงนี้เป็นการผสมระหว่างหลายสำเนียงโดยมีสำเนียงอูร์เมียเป็นพื้นฐาน
 
==อ้างอิง==
* Heinrichs, Wolfhart (ed.) (1990). Studies in Neo-Aramaic. Scholars Press: Atlanta, Georgia. ISBN 1-55540-430-8.
* Maclean, Arthur John (1895). Grammar of the dialects of vernacular Syriac: as spoken by the Eastern Syrians of Kurdistan, north-west Persia, and the Plain of Mosul: with notices of the vernacular of the Jews of Azerbaijan and of Zakhu near Mosul. Cambridge University Press, London.
 
{{วิกิภาษาอื่น|arc}}
เส้น 7 ⟶ 32:
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิหร่าน|อราเมอิกใหม่อัสซีเรีย]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศจอร์เจีย|อราเมอิกใหม่อัสซีเรีย]]
 
{{โครงภาษา}}
 
[[arc:ܣܘܪܬ]]