ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมาจิ้งจอกแดง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
| genus = ''[[Vulpes]]''
| species = '''''V. vulpes'''''
| subdivision = <center>45 ชนิดย่อย (ดูในเนื้อหา)</center>
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]
| binomial = ''Vulpes vulpes''
บรรทัด 40:
หมาจิ้งจอกแดง สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี ทำให้อาศัยอยู่ในภูมิประเทศที่หลากหลายได้ [[ป่าสน]]หรือ[[ป่าเบญจพรรณ]], พื้นที่แห้งแล้งแบบ[[ทะเลทราย]] และพื้นที่เกษตรกรรม กินอาหารได้หลากหลายประเภทตั้งแต่สิ่งมีชีวิต เช่น [[หนู]] [[กระต่าย]], [[นก]], [[แมลง]] หรือแม้แต่[[หนอน]]ชนิดต่าง ๆ ในบางครั้งอาจกิน[[ผัก]]และ[[ผลไม้]]ด้วย เช่น [[กะหล่ำปลี]] โดยจะกินอาหารมากถึงวันละ 1 กิโลกรัม<ref>''Mouse: A Secret Life'', "Animal Planet Showcase" สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต. ทางทรูวิชั่นส์: พฤหัสบดีที่ 10 มกราคม 2556</ref> มักอาศัยและหากินอยู่เป็นคู่ หมาจิ้งจอกแดงที่อาศัยอยู่ใน[[ทวีปเอเชีย]]สามารถผสมพันธุ์ได้เกือบตลอดทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้อง 49–55 วัน โดยที่ตัวพ่อและแม่จะช่วยกันเลี้ยงดูลูกในรังช่วง 3 เดือนแรก เมื่อลูกมีอายุครบปีแล้ว ก็จะแยกตัวออกไปสร้างครอบครัวของตัวเอง และจากการศึกษานานกว่า 40 ปี ของนักวิจัยพบว่า หมาจิ้งจอกแดงสามารถส่งเสียงร้องได้หลากหลายมากถึง 40 เสียง สำหรับการสื่อสารกันเอง, การหาคู่ หรือการสื่อสารกันเฉพาะในฝูงหรือครอบครัว<ref>[http://manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9560000114214 ใครรู้บ้าง “จิ้งจอก” มีเสียงร้องแบบไหน? จากผู้จัดการออนไลน์]</ref>
 
===ชนิดย่อย===
{{hidden begin|ชนิดย่อย}}
*''Vulpes vulpes abietorum'' <small>Merriam, 1900</small>
*''Vulpes vulpes alascensis'' <small>Merriam, 1900</small>
*''Vulpes vulpes alpherakyi'' <small>Satunin, 1906 </small>
*''Vulpes vulpes anatolica'' <small>Thomas, 1920</small>
*''Vulpes vulpes arabica'' <small>Thomas, 1902 </small>
*''Vulpes vulpes atlantica'' <small>(Wagner, 1841)</small>
*''Vulpes vulpes bangsi'' <small>Merriam, 1900 </small>
*''Vulpes vulpes barbara'' <small>(Shaw, 1800) </small>
*''Vulpes vulpes beringiana'' <small>(Middendorff, 1875)</small>
*''Vulpes vulpes cascadensis'' <small>Merriam, 1900</small>
*''Vulpes vulpes caucasica'' <small>Dinnik, 1914</small>
*''Vulpes vulpes crucigera'' <small>(Bechstein, 1789)</small>
*''Vulpes vulpes daurica'' <small>Ognev, 1931 </small>
*''Vulpes vulpes deletrix'' <small>Bangs, 1898</small>
*''Vulpes vulpes dolichocrania'' <small>Ognev, 1926</small>
*''Vulpes vulpes dorsalis'' <small>(Gray, 1838) </small>
*''Vulpes vulpes flavescens'' <small>Gray, 1843 </small>
*''Vulpes vulpes fulvus'' <small>(Desmarest, 1820)</small>
*''Vulpes vulpes griffithi'' <small>Blyth, 1854 </small>
*''Vulpes vulpes harrimani'' <small>Merriam, 1900 </small>
*''Vulpes vulpes hoole'' <small>Swinhoe, 1870 </small>
*''Vulpes vulpes ichnusae'' <small>Miller, 1907 </small>
*''Vulpes vulpes indutus'' <small>Miller, 1907 </small>
*''Vulpes vulpes jakutensis'' <small>Ognev, 1923 </small>
*''Vulpes vulpes japonica'' <small>Gray, 1868 </small>
*''Vulpes vulpes karagan'' <small>(Erxleben, 1777) </small>
*''Vulpes vulpes kenaiensis'' <small>Merriam, 1900 </small>
*''Vulpes vulpes kurdistanica'' <small>Satunin, 1906 </small>
*''Vulpes vulpes macroura'' <small>Baird, 1852 </small>
*''Vulpes vulpes montana'' <small>(Pearson, 1836)</small>
*''Vulpes vulpes necator'' <small>Merriam, 1900 </small>
*''Vulpes vulpes niloticus'' <small>(Geoffroy Saint-Hilaire, 1803) </small>
*''Vulpes vulpes ochroxantha'' <small>Ognev, 1926</small>
*''Vulpes vulpes palaestina'' <small>Thomas, 1920</small>
*''Vulpes vulpes peculiosa'' <small>Kishida, 1924 </small>
*''Vulpes vulpes pusilla'' <small>Blyth, 1854 </small>
*''Vulpes vulpes regalis'' <small>Merriam, 1900 </small>
*''Vulpes vulpes rubricosa'' <small>Bangs, 1898 </small>
*''Vulpes vulpes schrencki'' <small>Kishida, 1924 </small>
*''Vulpes vulpes silacea'' <small>Miller, 1907 </small>
*''Vulpes vulpes splendidissima'' <small>Kishida, 1924 </small>
*''Vulpes vulpes stepensis'' <small>Brauner, 1914 </small>
*''Vulpes vulpes tobolica'' <small>Ognev, 1926 </small>
*''Vulpes vulpes tschiliensis'' <small>Matschie, 1907 </small>
*''Vulpes vulpes vulpes'' <small>(Linnaeus, 1758)</small>
{{hidden end}}
==ในวัฒนธรรม==
หมาจิ้งจอกแดง นับเป็นหมาจิ้งจอกชนิดที่มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางที่สุด และนับเป็น[[ต้นแบบ (ชีววิทยา)|ต้นแบบ]]ของหมาจิ้งจอกทั้งหมด<ref>Wozencraft, W. Christopher (16 November 2005). "Order Carnivora (pp. 532-628)". In Wilson, Don E., and Reeder, DeeAnn M., eds. Mammal Species of the World: A Taxonomic and Geographic Reference (3rd ed.). Baltimore: Johns Hopkins University Press, 2 vols. (2142 pp.). ISBN 978-0-8018-8221-0. OCLC 62265494. http://www.bucknell.edu/msw3/browse.asp?id=14000865</ref> ดังนั้น จึงปรากฏในวัฒนธรรมและความเชื่อของชนชาติต่าง ๆ มาแต่โบราณ โดยชาวตะวันตก หมาจิ้งจอกจะเป็นสัญลักษณ์ของความเจ้าเล่ห์ และปรากฏใน[[นิทาน]]พื้นบ้าน และ[[นิทานอีสป]]หลายเรื่อง อาทิ ''องุ่นเปรี้ยว'', ''หมาหางด้วน'' และ''หมาจิ้งจอกกับสิงโต'' เป็นต้น สำหรับชาวเอเชียตะวันออก เช่น ชาวจีน หรือชาวญี่ปุ่น เชื่อว่า หมาจิ้งจอกแดงสามารถแปลงร่างเป็น[[โยไก|ปีศาจ]]เพื่อหลอกลวงมนุษย์ได้ เช่น [[คิสึเนะ|ปีศาจจิ้งจอก]], [[ปีศาจจิ้งจอกเก้าหาง]] เป็นต้น<ref> Katherine Berrin & Larco Museum (1997). ''The Spirit of Ancient Peru:Treasures from the Museo Arqueológico Rafael Larco Herrera''. New York: Thames and Hudson.</ref> ขณะเดียวกันใน[[ศาสนาชินโต]]ก็เชื่อว่า หมาจิ้งจอกแดงเป็นตัวแทนของเทพเจ้า[[อินะริ]] ที่ถูกมอบหมายให้ลงมาบนโลกมนุษย์ เพื่อดลบันดาลให้เกิดความอุมสมบูรณ์ขึ้น ที่หน้า[[ศาลเจ้าฟุชิมิ อินะริ]] ที่[[จังหวัดเกียวโต]] จึงมีรูปปั้นหมาจิ้งจอกแดงประดับอยู่ เสมือนเป็นยามหรือทวารบาลรักษาทางเข้า โดยบางตัวจะคาบสิ่งที่มีลักษณะคล้ายสาสน์ อันหมายถึง เป็นตัวแทนหรือสื่อกลางระหว่างมนุษย์กับเทพเจ้า หรือบางตัวคาบรวงข้าว หมายถึง การเป็นตัวแทนของความอุดมสมบูรณ์<ref>หน้า 2 การเมือง, '' 'เชื่อแล้วดี'ถึงยุคล้ำ ๆ 'สัตว์เทพเจ้า' ตำนานญี่ปุ่นยัง'ขลัง' ''. "สกู๊ปหน้า 1 เดลินิวส์ ต่อจากหน้า 1". '''เดลินิวส์'''ฉบับที่ 24,117: วันเสาร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2558 ขึ้น 12 ค่ำ เดือน 11 ปีมะแม</ref>