ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 20:
ใน[[ต่างประเทศ]] ยังคงมีผลิตบ้างจำนวนจำกัดเฉพาะกลุ่มที่ชอบฟังเสียงจากแผ่นไวนิล ทำให้แต่ละอัลบั้มมีราคาสูง ส่วน[[ประเทศไทย]]ซึ่งเลิกผลิตแบบอุตสาหกรรมตั้งแต่ปี พ.ศ .2535 เมื่อแถบบันทึกเสียงตลับ ''(Cassette Tape)'' เป็นที่นิยมมากขึ้นก่อนถึงยุคแผ่นซีดีเข้ามาแทนที่ตามลำดับ ปัจจุบันกำลังมีกระแสการกลับมานิยมแผ่นรูปแบบนี้อีกครั้ง ตั้งแต่ราวต้นทศวรรษ 2550 บริษัทค่ายเพลงต่างๆ ในเมืองไทยสั่งทำแผ่นจำนวนจำกัดจากโรงงานที่ [[ญี่ปุ่น]] อเมริกา และ [[เยอรมนี]] อัลบัมเก่ามักใช้ภาพปกต้นฉบับเดิมสำหรับนักสะสม มีราคาจำหน่ายจากหลักร้อยในอดีตเป็นหลักพันบาทขึ้นไป พร้อมๆกับตลาดแผ่นเสียงไวนิลมือสองที่ขยายตัวอย่างรวดเร็วในศูนย์การค้าจนถึงตามสื่อ[[อินเทอร์เน็ต]]
 
พ่อคุณเสียแล้วครับ
==== แผ่นซิงเกิล ====
ปี พ.ศ. 2492 บริษัท อาร์ซีเอ วิคเตอร์ ทำแผ่นไวนิลขนาดเล็ก 7 นิ้ว สปีด 45 รอบ/นาที คุณภาพเสียงด้อยกว่าแผ่นใหญ่เล็กน้อย บันทึกได้หน้าละไม่เกิน 2 เพลง เรียกกันว่า '''''แผ่นซิงเกิล ''''' ''(Single)'' มักใช้กับเพลงเด่นๆ ที่ตัดจากแผ่นลองเพลย์ เพื่อเผยแพร่ตามสถานีวิทยุ ก่อนวางจำหน่ายอัลบั้มเต็ม
 
แผ่นไวนิลทุกขนาดมีการผลิตต่อเนื่องยาวนานถึง 30 ปี ก่อนเข้าสู่ยุคใหม่ของการบันทึกเสียงด้วยระบบ[[ดิจิตอล]]บน[[แผ่นซีดี]]
 
แผ่นไวนิลในเมืองไทย ได้แก่ ''อาร์ซีเอ ,โคลัมเบีย ,เดคก้า ,แคปิตอล ,ฟิลิปส์ ,เอ็มจีเอ็ม ,ศรีกรุง ,กระต่าย ,อัศวิน ,[[สุนทราภรณ์]] ,มงกุฏ ,เคเอส (กมลสุโกศล ) ,นางฟ้า (เมโทรแผ่นเสียง ) ,สุพรรณหงษ์ (กรุงไทย ) ,[[นิธิทัศน์]] ,[[อีเอ็มไอ]] ,[[จีเอ็มเอ็ม]] (แกรมมี่ ) ,[[อาร์เอส]] ,อโซน่าร์ ฯลฯ'' รวมถึงแผ่นที่ใช้เฉพาะในสถานี ''วิทยุ อส.'' หรือจำหน่ายบางโอกาส เช่น ''กรมศิลปากร ,ละโว้ภาพยนตร์'' และ ''ทีวี 4 (ไทยทีวี[[ช่อง 4]])'' เป็นต้น
 
แผ่นเสียง[[เพลงไทย]]ส่วนใหญ่นิยมทำเป็นอัลบั้มไวนิลขนาด 12 นิ้ว ส่วนแผ่นครั่งขนาด 10 นิ้ว ซึ่งมีเสียงรบกวนและดูแลรักษายาก ไม่เป็นที่นิยมทั่วโลกนานแล้ว
 
== อ้างอิง ==