ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอท่าปลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35:
และเมื่อปี [[พ.ศ. 2513]] [[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]]โดย[[กรมชลประทาน]]ได้เปิดโครงการพัฒนาลุ่มน้ำน่านและก่อสร้าง[[เขื่อนสิริกิติ์]] ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ พื้นที่อำเภอบางส่วนกลายเป็นอ่างเก็บน้ำ ราษฎรต้องอพยพออกมาตั้งรกรากถิ่นฐานใหม่บนพื้นที่จัดสรรของ[[นิคมสร้างตนเองลำน้ำน่าน]] [[กรมประชาสงเคราะห์]] ที่ว่าการอำเภอท่าปลาซึ่งเดิมตั้งอยู่ในเขตหมู่ที่ 3 ตำบลท่าปลา ถูกผลกระทบจากการก่อสร้างตามโครงการฯ จึงได้ปรับย้ายมาตั้งที่ทำการแห่งใหม่อยู่ในเขตหมู่ที่ 1 ซึ่งเป็นพื้นที่จัดสรรของนิคมสร้างตนเองลำน้ำน่านอยู่จนทุกวันนี้
 
ในวันที่ [[13 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2558]] ได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตการปกครองระหว่างอำเภอท่าปลากับ[[อำเภอน้ำปาด]] โดยโอนตำบลท่าแฝกไปขึ้นกับอำเภอน้ำปาด<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/010/62.PDF พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนเขตอำเภอท่าปลากับอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ. ๒๕๕๘]</ref> เนื่องจากราษฎรตำบลท่าแฝก (ซึ่งถูกอ่างเก็บน้ำเขื่อนสิริกิติ์ตัดขาดจากพื้นที่อื่นของอำเภอ) ได้รับความลำบากในการเดินทางไปติดต่อราชการและขอรับบริการต่าง ๆ ที่ตัวอำเภอท่าปลาซึ่งอยู่ห่างออกไป 116 กิโลเมตร ถ้าย้ายไปขึ้นกับอำเภอน้ำปาดซึ่งตัวอำเภอตั้งอยู่ระหว่างทางและมีระยะทางห่างเพียง 59 กิโลเมตร ราษฎรจะได้รับความสะดวกมากกว่า พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
บรรทัด 77:
* ถ้ำแสนหาร
[[ไฟล์:Utaradit.jpg|1050px|left|thumb|สันเขื่อนดิน (เขื่อนสิริกิติ์) - บ้านท่าเรือ - ภูพญาพ่อ]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==