ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรัสเซลส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sutthiphat Borworncharuphat (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เขตเมืองหลวง" → "เขตนครหลวง" ด้วยสจห.
บรรทัด 3:
|name = บรัสเซลส์
|native_name = {{unbulleted list| ''{{lang|en|Brussels}}'' | ''{{lang|fr|Bruxelles}}'' | ''{{lang|nl|Brussel}}'' }}
|official_name = {{unbulleted list| ''เขตเมืองหลวงนครหลวงบรัสเซลส์'' | ''Brussels-Capital Region'' | ''Région de Bruxelles-Capitale'' | ''Brussels Hoofdstedelijk Gewest'' }}
|nickname = เมืองหลวงแห่งยุโรป<ref>{{cite web|title=Brussels |url=http://www.city-data.com/world-cities/Brussels-Introduction.html |publisher=City-Data.com |accessdate=10 January 2008}}</ref> เมืองแห่งการ์ตูน<ref>{{cite news|last=Herbez|first=Ariel|title=Bruxelles, capitale de la BD|url=http://www.letemps.ch/Page/Uuid/73a8ca52-4c90-11de-8192-71ce8207b7fa|accessdate=28 May 2010|newspaper=Le Temps|date=30 May 2009|location=Switzerland|language=French|quote=Plus que jamais, Bruxelles mérite son statut de capitale de la bande dessinée.}}</ref><ref>{{cite web|title=Cheap flights to Brussels|url=http://www.easyjet.com/en/cheap-flights/brussels|publisher=Easyjet|accessdate=1 June 2010}}</ref>
|image_skyline = TE-Collage Brussels.png
บรรทัด 10:
|image_flag = Flag Belgium brussels.svg
|flag_size = 125px
|flag_link = ธงเขตเมืองหลวงนครหลวงบรัสเซลส์
|image_blank_emblem = Belgium brussels iris.svg
|blank_emblem_type = Emblem
บรรทัด 88:
}}
 
'''บรัสเซลส์''' ({{lang-en|Brussels}}), '''บรูว์แซล''' ({{lang-fr|Bruxelles}}) หรือ '''บรึสเซิล''' ({{lang-nl|Brussel}}; {{lang-de|Brüssel}}) เรียกอย่างเป็นทางการว่า '''เขตเมืองหลวงนครหลวงบรัสเซลส์''' หรือ '''เขตบรัสเซลส์'''<ref name="Belgian Constitution">{{cite web |title=The Belgian Constitution (English version) |url=http://www.dekamer.be/kvvcr/pdf_sections/publications/constitution/grondwetEN.pdf |format=PDF |publisher=Belgian House of Representatives |date = January 2009|accessdate=5 June 2009 |quote=Article 3: [[Belgium]] comprises three Regions: the Flemish Region, the Walloon Region and the '''Brussels Region'''. Article 4: Belgium comprises four linguistic regions: the Dutch-speaking region, the French-speaking region, the bilingual region of '''Brussels-Capital''' and the German-speaking region.}}</ref><ref name="CIRB-creation">{{cite web |title=Brussels-Capital Region: Creation |url=http://www.bruxelles.irisnet.be/en/region/region_de_bruxelles-capitale/creation.shtml |publisher=''Centre d'Informatique pour la Région Bruxelloise'' (Brussels Regional Informatics Center) |year=2009 |accessdate=5 June 2009 |quote=Since 18 June 1989, the date of the first regional elections, the '''Brussels-Capital Region''' has been an autonomous region comparable to the Flemish and Walloon Regions.}} (All text and all but one graphic show the English name as '''Brussels-Capital Region'''.)</ref> ({{lang-fr|link=no|Région de Bruxelles-Capitale}}, {{lang-nl|Brussels Hoofdstedelijk Gewest}}) เป็นเมืองหลวงของ[[ประเทศเบลเยียม]] และเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงอย่างไม่เป็นทางการของ[[สหภาพยุโรป]] (อียู) เขตบรัสเซลส์แบ่งการปกครองย่อยเป็นเทศบาลจำนวน 19 แห่ง รวมถึง '''[[นครบรัสเซลส์|เทศบาลนครบรัสเซลส์]]''' (City of Brussels) ซึ่งอยู่ใจกลางเขตมีอาณาเขตเพียง 32.61 ตร.กม. และเป็นที่มาของชื่อเขตเมืองหลวงนครหลวงซึ่งกินบริเวณกว้างกว่ามาก (161 ตร.กม.) นอกจากนั้นบรัสเซลส์ยังเป็นที่ตั้งของ[[ชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียม|ชุมชนฝรั่งเศส]]และ[[ชุมชนฟลามส์]]<ref>{{cite web|url=http://www.brussels.org/ |title=Welcome to Brussels |publisher=Brussels.org |date= |accessdate=5 July 2009}}</ref> เขตเทศบาลนครบรัสเซลส์มีประชากรประมาณ 140,000 คน แต่เขตเมืองหลวงนครหลวงบรัสเซลส์นั้นมีประชากรรวมประมาณเกือบ 2 ล้านคน
 
เบลเยียมเป็นประเทศที่มีการแบ่งเขตของประชากรที่พูด[[ภาษาดัตช์]] (ทางเหนือ) และ[[ภาษาฝรั่งเศส]] (ทางใต้)​ โดยมีเส้นแบ่งเขตที่ชัดเจน บรัสเซลส์นั้นอยู่ในเขตของดัตช์ แต่ภาษาอย่างเป็นทางการนั้นใช้ทั้งสองภาษา โดยส่วนใหญ่เป็นภาษาฝรั่งเศส
บรรทัด 95:
 
==สภาพภูมิอากาศ==
จาก[[การแบ่งเขตภูมิอากาศของเคปเปิน]] บรัสเซลส์อยู่ในเขตภูมิอากาศ'''แบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นสมุทร''' (Oceanic climate - Cfb) อันเนื่องมาจากที่ตั้งนั้นอยู่ใกล้กับเขตชายฝั่งที่พัดพาลมทะเลเข้ามาจาก[[มหาสมุทรแอตแลนติก]] ทำให้มีฝนตกสม่ำเสมอในอุณหภูมิที่อบอุ่น โดยจากค่าเฉลี่ย (วัดจากสถิติในรอบหนึ่งร้อยปี) นั้นแสดงให้เห็นว่าประมาณ 200 วันจะพบฝนตกในเขตเมืองหลวงนครหลวงบรัสเซลส์<ref>{{cite web|url=http://www.meteo.be/meteo/view/fr/360361-Parametres.html#ppt_757427 |title=Site de l'institut météorologique belge |publisher=Meteo.be |date= |accessdate=29 June 2010}}</ref> ส่วนหิมะนั้นพบได้ค่อนข้างยาก โดยปกติแล้วจะตกเพียงปีละครั้งหรือสองครั้งเท่านั้น
 
{{Weather box|location = บรัสเซลส์
บรรทัด 239:
[[ไฟล์:Luc_Viatour_Hotel_de_ville_Bruxelles_1.JPG|thumb|right|250px|ศาลากลาง (โอแต็ล เดอ วิล)]]
 
เขตเมืองหลวงนครหลวงบรัสเซลส์นั้นถือเป็นหนึ่งในสาม[[การแบ่งเขตการปกครองในเบลเยียม|เขต (Region)]] ของ[[ประเทศเบลเยียม]] ในขณะที่บทบาทของ[[ชุมชนฝรั่งเศสแห่งเบลเยียม]] และ[[ชุมชนฟลามส์]]นั้นจะเน้นด้านภาษาและวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่น บรัสเซลส์นั้นเป็นเขตทวิภาษา ซึ่งใช้ทั้ง[[ภาษาฝรั่งเศส]]และ[[ภาษาดัตช์]] ทำให้สถานบริการสาธารณะต่างๆจะให้บริการทั้งสองภาษา ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ในเขตบรัสเซลส์ประกอบด้วยผู้ที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสประมาณร้อยละ 60 - 85<ref>[http://www.lexilogos.com/bruxelles_plan.htm Personal website ''Lexilogos'' located in the [[Provence]], on European Languages (English, French, German, Dutch, and so on) – French-speakers in Brussels are estimated at about 90% (estimation, not an 'official' number because there are no linguistic census in Belgium)] {{fr icon}}</ref><ref>[http://web.archive.org/web/20070303005845/http://www.initiatives.refer.org/_notes/sess604.htm#_ftnref9 ''Langues majoritaires, langues minoritaires, dialectes et NTIC'' by Simon Petermann, Professor at the University of Liège, Wallonia, Belgium] {{fr icon}}</ref><ref name="E. Corijn">Flemish Academic E. Corijn, at a Colloquium regarding Brussels, on 5 December 2001, states that in Brussels there is 91% of the population speaking French at home, either alone or with another language, and there is about 20% speaking Dutch at home, either alone (9%) or with French (11%) – After ponderation, the repartition can be estimated at between 85 and 90% French-speaking, and the remaining are Dutch-speaking, corresponding to the estimations based on languages chosen in Brussels by citizens for their official documents (ID, driving licenses, weddings, birth, death, and so on) ; all these statistics on language are also available at Belgian Department of Justice (for weddings, birth, death), Department of Transport (for Driving licenses), Department of Interior (for IDs), because there are no means to know ''precisely'' the proportions since Belgium has abolished 'official' linguistic censuses, thus official documents on language choices can only be estimations.</ref>(รวมทั้งผู้อพยพ และผู้ที่ใช้เป็นภาษาหลักในการสื่อสาร) และภาษาดัตช์ประมาณร้อยละ 10-15<ref name="E. Corijn" /><ref>[http://www.lexilogos.com/belgique_carte.htm Personal website ''Lexilogos'' located in the [[Provence]], on European Languages (English, French, German, Dutch, and so on) – Dutch-speakers in Brussels are estimated at about 10% (estimation, not an 'official' number because there are no linguistic census in Belgium)] {{fr icon}}</ref> ในปีค.ศ. 2006 จากการสำรวจประชากรที่อาศัยอยู่ทั้งหมด ประกอบด้วยชาวเบลเยียมจำนวนร้อยละ 73.1, ชาวฝรั่งเศสร้อยละ 4.1, ผู้ถือสัญชาติในกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปร้อยละ 12, ชาวโมร็อคโคร้อยละ 4.0 และผู้ที่มิได้ถือสัญชาติในกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปร้อยละ 6.8<ref name=autogenerated1>[http://www.bruxelles.irisnet.be/brussels?set_language=en&uri=ff80818115f323cb0115f659b6880039 IS 2007 – Population (Tableaux)]</ref>
 
===สภาบรัสเซลส์===