ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาทิลาเพีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
|caption2 = {{center|ปริมาณการประมงปลาทิลาเพีย (เป็นตัน) ของ[[องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ]] (FAO) ระหว่างปี ค.ศ. 1950–2009<ref>[http://faostat.fao.org/site/629/default.aspx Fisheries and Aquaculture Department Statistics] UN Food and Agriculture Department</ref>}}
}}
'''ปลาทิลาเพีย'''<ref name=สม/> ({{lang-en|Tilapia}}, {{IPAc-en|t|ɨ|ˈ|l|ɑː|p|i|ə}} {{respell|ti|LAH|pee-ə}}) เป็น[[ชื่อสามัญ]]ของปลาน้ำจืดจำนวนมากนับร้อยชนิด จำพวก[[ปลาหมอสี]] ใน[[เผ่า (ชีววิทยา)|เผ่า]][[Tilapiini|ปลาทิลาเพีย]] (โดยสกุลที่สำคัญ ได้แก่ ''[[Oreochromis]]'',<ref>{{ITIS | ID = 170014 | taxon = Oreochromis| year = 2007 | date = 16 August}}</ref> ''[[Sarotherodon]]''<ref>{{ITIS | ID = 553244 | taxon = Sarotherodon| year = 2007 | date = 16 August}}</ref> และ ''[[Tilapia (genus)|Tilapia]]'')<ref>{{ITIS | ID = 169809 | taxon = Tilapia | year = 2007 | date = 16 August}}</ref>) พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในทวีปแอฟริกา โดยเป็นปลาที่พบได้ทั้งน้ำจืดและน้ำกร่อย อาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำธรรมชาติต่าง ๆ เช่น หนอง, บึง, ทะเลสาบ, แม่น้ำ, เขื่อนกักเก็บน้ำต่าง ๆ มีประโยชน์เป็นปลาเศรษฐกิจสำหรับการบริโภคกันมาอย่างยาวนาน <div>ปลาทิลาเพียปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุค[[อียิปต์โบราณ]]ด้วยเป็นตัวอักษร[[ไฮเออโรกลีฟอียิปต์|ไฮเออโรกลีฟ]] <hiero>K1</hiero> ตาม[[Gardiner's Sign List|บัญชีสัญลักษณ์ของการ์ดิเนอร์]]</div> ซึ่งเป็นสัญลักษณ์หมายถึงความอุดมสมบูรณ์ คำว่า ''Tilapia'' เป็นรูปภาษาละตินของคำว่า ''thiape'' ใน[[ภาษาสวานา]] แปลว่า "ปลา"<ref>{{cite web |last=Chapman |first=Frank A. |title=Culture of Hybrid Tilapia: A Reference Profile |work=Circular 1051 |publisher =University of Florida, Institute of Food and Agricultural Sciences |date=July 1992 |url=http://edis.ifas.ufl.edu/FA012 |accessdate=2007-08-17}}</ref> และกลายมาเป็น[[Tilapia (genus)|ชื่อ]][[Genus|สกุลทางวิทยาศาสตร์]]ซึ่งตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1840 โดย[[Andrew Smith (zoologist)|แอนดรูว์ สมิท]] นักสัตววิทยา[[ชาวสกอต]] และใช้เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดหลายชนิดมาอย่างยาวนาน จนกระทั่งมีการจำแนกออกเป็นสกุลใหม่ ๆ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980<ref name=สม>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=สมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์
|ชื่อหนังสือ=สาระน่ารู้ ปลาน้ำจืดไทย เล่ม ๒