ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาทิลาเพีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt ย้ายหน้า ปลาทิลอาเพีย ไปยัง ปลาทิลาเพีย
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
|caption2 = {{center|ปริมาณการประมงปลาทิลาเพีย (เป็นตัน) ของ[[องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ]] (FAO) ระหว่างปี ค.ศ. 1950–2009<ref>[http://faostat.fao.org/site/629/default.aspx Fisheries and Aquaculture Department Statistics] UN Food and Agriculture Department</ref>}}
}}
'''ปลาทิลาเพีย'''<ref name=สม/> ({{lang-en|Tilapia}}; {{IPAc-en|t|ɨ|ˈ|l|ɑː|p|i|ə}} {{respell|ti|LAH|pee-ə}}) เป็น[[ชื่อสามัญ]]ของปลาน้ำจืดจำนวนมากนับร้อยชนิด จำพวก[[ปลาหมอสี]] ใน[[เผ่า (ชีววิทยา)|เผ่า]][[Tilapiini|ปลาทิลาเพีย]] (โดยสกุลที่สำคัญ ได้แก่ ''[[Oreochromis]]'',<ref>{{ITIS | ID = 170014 | taxon = Oreochromis| year = 2007 | date = 16 August}}</ref> ''[[Sarotherodon]]''<ref>{{ITIS | ID = 553244 | taxon = Sarotherodon| year = 2007 | date = 16 August}}</ref> และ ''[[Tilapia (genus)|Tilapia]]''<ref>{{ITIS | ID = 169809 | taxon = Tilapia | year = 2007 | date = 16 August}}</ref>) พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในทวีปแอฟริกา โดยเป็นปลาที่พบได้ทั้งน้ำจืดและน้ำกร่อย อาศัยอยู่ตามแหล่งน้ำธรรมชาติต่าง ๆ เช่น หนอง, บึง, ทะเลสาบ, แม่น้ำ, เขื่อนกักเก็บน้ำต่าง ๆ มีประโยชน์เป็นปลาเศรษฐกิจสำหรับการบริโภคกันมาอย่างยาวนาน <div>ปลาทิลาเพีย ปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุค[[อียิปต์โบราณ]]ด้วยเป็นตัวอักษร[[ไฮเออโรกลีฟอียิปต์|ไฮเออโรกลีฟ]] <hiero>K1</hiero> ตาม[[Gardiner's Sign List|บัญชีสัญลักษณ์ของการ์ดิเนอร์]]</div> ซึ่งเป็นสัญลักษณ์หมายถึงความอุดมสมบูรณ์ คำว่า ''Tilapia'' เป็นรูปภาษาละตินของคำว่า ''thiape'' ใน[[ภาษาสวานา]] แปลว่า "ปลา"<ref>{{cite web |last=Chapman |first=Frank A. |title=Culture of Hybrid Tilapia: A Reference Profile |work=Circular 1051 |publisher =University of Florida, Institute of Food and Agricultural Sciences |date=July 1992 |url=http://edis.ifas.ufl.edu/FA012 |accessdate=2007-08-17}}</ref> และกลายมาเป็น[[Tilapia (genus)|ชื่อ]][[Genus|สกุลทางวิทยาศาสตร์]]ซึ่งตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1840 โดย[[Andrew Smith (zoologist)|แอนดรูว์ สมิท]] นักสัตววิทยา[[ชาวสกอต]] และใช้เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดหลายชนิดมาอย่างยาวนาน จนกระทั่งมีการจำแนกออกเป็นสกุลใหม่ ๆ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980<ref name=สม>{{อ้างหนังสือ
ซึ่งเป็นสัญลักษณ์หมายถึงความอุดมสมบูรณ์ คำว่า "ทิลาเพีย" มาจาก[[ภาษาซานา]]ที่หมายถึง "ปลา"<ref>{{cite web |last=Chapman |first=Frank A. |title=Culture of Hybrid Tilapia: A Reference Profile |work=Circular 1051 |publisher =University of Florida, Institute of Food and Agricultural Sciences |date=July 1992 |url=http://edis.ifas.ufl.edu/FA012 |accessdate=2007-08-17}}</ref> และกลายมาเป็น[[Tilapia (genus)|ชื่อ]][[Genus|สกุลทางวิทยาศาสตร์]]โดย นักสัตววิทยา[[ชาวสกอต]][[Andrew Smith (zoologist)|แอนดรูว์ สมิท]] ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1840 และใช้เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดหลายชนิดมาอย่างยาวนาน จนกระทั่งมีการจำแนกออกเป็นสกุลใหม่ ๆ ในช่วงทศวรรษที่ 80 <ref name=สม>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=สมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์
|ชื่อหนังสือ=สาระน่ารู้ ปลาน้ำจืดไทย เล่ม ๒
เส้น 29 ⟶ 28:
|หน้า = 160
}}
</ref> แต่ปัจจุบัน ได้มีการจำแนกใหม่จนเหลือเพียงแค่ 4 ชนิด โดยการวิเคราะห์ทางดีเอ็นเอในปี ค.ศ. 2013 โดยการวิเคราะห์ทางดีเอ็นเอ <ref>Dunz, A.R., and Schliewen, U.K. (2013). ''Molecular phylogeny and revised classification of the haplotilapiine cichlid fishes formerly referred to as “Tilapia”.'' Molecular Phylogenetics and Evolution, online 29 March 2013. {{Doi|10.1016/j.ympev.2013.03.015}}</ref>
 
ปัจจุบัน ปลาทิลาเพียเป็นปลาเศรษฐกิจน้ำจืดที่มีความสำคัญมากระดับโลก มีการนำเข้าและเพาะเลี้ยงกันอย่างแพร่หลาย เช่น [[ปลานิล]] (''Oreochromis niloticus'') ในประเทศไทย ที่ถูกนำเข้ามาเมื่อปี ค.ศ. 1965 จนได้มีการพัฒนาเป็นสายพันธุ์ต่าง ๆ มากมายจาก[[wild type|ชนิดพันธุ์ดั้งเดิม]] เช่น ปลานิลจิตรดลาจิตรลดา, ปลาทับทิม หรือปลานิลซูเปอร์เมล นับเป็นปลาน้ำจืดลำดับต้น ๆ ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจในประเทศ <ref name="ชว">{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=ชวลิต วิทยานนท์
|ชื่อหนังสือ=ปลาน้ำจืดไทย
เส้น 42 ⟶ 41:
|จำนวนหน้า=116
}}
</ref> และบางชนิดได้ถูกนำเข้ามาในฐานะ[[ปลาสวยงาม]] เช่น [[ปลาหมอบัตเตอร์]] (''Heterotilapia buttikoferi'')<ref>{{cite web |url=http://www.aquaticcommunity.com/tilapia/aquariums.php|title=Keeping Tilapia in Aquariums |year=2008 |work=Tilapia |publisher=AC Tropical Fish |accessdate=2009-01-19}}</ref> และด้วยความที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ได้ง่าย จึงกลายมาเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศต่าง ๆ<ref name="daff"/> ในฐานะ[[สัตว์น้ำ#สัตว์น้ำต่างถิ่น|ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น]] เช่น ในสหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย<ref name="daff">{{cite web|url=http://www.daff.qld.gov.au/fisheries/pest-fish/noxious-fish/tilapia|title=Tilapia|publisher=Department of Agriculture, Fisheries and Forestry}}</ref> รวมถึงประเทศไทย<ref name="ชว"/>
 
เนื้อปลาทิลาเพีย มีประโยชน์ทางโภชนาการ มีสารอาหารประเภท[[โอเมกา3]] ในสัดส่วนที่น้อยกว่า[[โอเมกา6]] และในทางการแพทย์ ในเชิงศัลยกรรมยังสามารถนำเกล็ดมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์บริโภคประเภท[[คอลลาเจน]]ได้อีกด้วย โดยมีปริมาณ[[โพรลีน]] และ[[ไฮดรอกซีโพรลีน]] ในสัดส่วนสูงกว่าปลาทะเล<ref>{{cite web|title=ปลาธีราเพียร์ แหล่งคอลลาเจนชั้นที่ดีที่สุดในโลก|url=http://www.thaibio.com/Collagen-%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%99-%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99|publisher=thaibio|accessdate=June 26, 2016}}</ref>
 
ในเคนยา ได้มีการใช้ปลาทิลาเพียในการกินลูกน้ำเพื่อการควบคุมและกำจัดยุง ซึ่งเป็นพาหนะของ[[มาเลเรีย|โรคมาเลเรีย]]<ref>{{cite journal |last=Petr |first=T |year=2000 |title=Interactions between fish and aquatic macrophytes in inland waters. A review. |journal=FAO Fisheries Technical Papers |volume=396}}</ref>
 
==อ้างอิง==