ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความใส่ใจ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘เล่นเกมส์’ ด้วย ‘เล่นเกม’
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
-->
'''ความใส่ใจ'''<ref name=RoyalDict>"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑"</ref> ({{lang-en|Attention}})
เป็นกระบวนการทาง[[ประชานปัญญา]] (cognitive process) ที่เลือกที่จะเข้าไปใส่ใจหรือมีสมาธิในอะไรอย่างหนึ่งเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว โดยที่ไม่สนใจในสิ่งอื่น มีการกล่าวถึงความใส่ใจว่า เป็นการจัดสรรทรัพยากรที่ใช้ในการแปลผลข้อมูลจาก[[ประสาทสัมผัส]]<ref>{{cite book |last=Anderson |first=John R. |year=2004 |title=Cognitive psychology and its implications (6th ed.) |publisher=Worth Publishers |url= http://books.google.com/?id=9P4p6eAULMoC |isbn=978-0-7167-0110-1 |page=519}}</ref>
 
ความใส่ใจเป็นประเด็นงานวิจัยที่มีการศึกษามากที่สุดประเด็นหนึ่งในสาขา[[จิตวิทยา]]และ[[ประสาทวิทยาศาสตร์]]ประชานวิทยาการปัญญา (cognitive neuroscience) และยังเป็นประเด็นการศึกษาที่สำคัญในสาขา[[การศึกษา]] [[จิตวิทยา]] และ[[ประสาทวิทยาศาสตร์]] ประเด็นงานวิจัยที่ยังเป็นไปอย่าต่อเนื่องในปัจจุบันรวมทั้ง การหาแหล่งกำเนิดของสัญญาณในสมองที่มีผลเป็นเป็นความใส่ใจ ผลของสัญญาณต่อ[[การเลือกตัวกระตุ้นของนิวรอน|การเลือกตัวกระตุ้น]] (neuronal tuning) ของ[[เซลล์ประสาทรับความรู้สึก]] และความสัมพันธ์ของความใส่ใจกับกระบวนการทาง[[ประชาน]]อื่น ๆ เช่นหน่วยความจำใช้งาน (working memory<ref name=WorkMem>'''หน่วยความจำใช้งาน (working memory)''' คือระบบความจำที่รองรับข้อมูลชั่วคราวซึ่งสมองใช้ในการประมวลผล เช่น จะจำเบอร์โทรศัพท์อย่างชั่วคราวได้ก็จะต้องใช้ระบบนี้</ref>) และ vigilance<ref>'''vigilance''' เป็นคำทาง[[จิตวิทยา]] บางครั้งเรียกว่า ความใส่ใจระยะยาว (sustained attention) มีนิยามว่าเป็นความสามารถในการรักษาความใส่ใจและความระมัดระวังไว้ได้เป็นระยะเวลายาวนาน</ref> นอกจากนี้แล้ว ก็ยังมีประเด็นงานวิจัยใหม่ ๆ ที่ตรวจสอบผลของการบาดเจ็บในกะโหลกศีรษะต่อความใส่ใจ
 
คำว่า ความใส่ใจนั้น อาจจะมีความหมายต่าง ๆ กันแล้วแต่เชื้อชาติวัฒนธรรม<ref name="Chavajay 1999 1079–1090">{{cite journal|last=Chavajay|first=Pablo|coauthors=Barbara Rogoff|title=Cultural variation in management of attention by children and their caregivers|journal=Developmental psychology|year=1999|volume=35|issue=4|pages=1079–1090}}</ref>