ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{Infobox university
|name = มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ด
|image = [[ไฟล์:Harvard Wreath Logo 1.svg]]
|image_size = 175px
|caption = ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ด
|motto = ''Veritas''<ref>Appearing as it does on the coat of arms itself, ''Veritas'' is not a motto in the usual [[heraldry|heraldic]] sense. Properly speaking, rather, the motto is ''Veritas Christo et Ecclesiae'' ("Truth for Christ and the Church") which appears in impressions of the university's [[seal (device)|seal]]; but this legend is otherwise not used today. [http://www.hcs.harvard.edu/~gsascf/shield.html hcs.harvard.eu]</ref>
|established = [[8 กันยายน]] [[พ.ศ. 2179]] (OS)<br /> {{nowrap|[[18 กันยายน]] [[พ.ศ. 2179]] (NS)}}<ref name=founding>An appropriation of £400 toward a "school or college" was voted on October 28, 1636 (OS), at a meeting which initially convened on September 8 and was adjourned to October 28. Some sources consider October 28, 1636 (OS) (November 7, 1636 NS) to be the date of founding. In 1936, Harvard's multi-day tercentenary celebration considered that Harvard rocks, on September 18 to be the 300-year anniversary of the founding. (The bicentennial was celebrated on September 8, 1836, apparently ignoring the calendar change; and the tercentenary celebration began by opening a package sealed by [[Josiah Quincy (1859–1919)|Josiah Quincy]] at the bicentennial). Sources: meeting dates, {{Cite book|first=Josiah|last=Quincy|title=History of Harvard University|year=1860|publisher=Crosby, Nichols, Lee and Co.|location=117 Washington Street, Boston}}, [http://books.google.com/books?vid=OCLC11636583&id=KynqxH_4lGUC&pg=RA1-PA586&lpg=RA1-PA586 p. 586], "At a Court holden September 8th, 1636 and continued by adjournment to the 28th of the 8th month (October, 1636)... the Court agreed to give £400 towards a School or College, whereof £200 to be paid next year...." Tercentenary dates: {{Cite news|url=http://www.time.com/time/magazine/printout/0,8816,756722,00.html|date=1936-09-28|accessdate=2006-09-08|publisher=Time Magazine|title=Cambridge Birthday}}: "Harvard claims birth on the day the Massachusetts Great and General Court convened to authorize its founding. This was Sept. 8, 1637 under the Julian calendar. Allowing for the ten-day advance of the Gregorian calendar, Tercentenary officials arrived at Sept. 18 as the date for the third and last big Day of the celebration;" "on Oct. 28, 1636 ... £400 for that 'school or college' [was voted by] the Great and General Court of the [[Massachusetts Bay Colony]]." Bicentennial date: {{Cite web|url=http://www.news.harvard.edu/gazette/2003/10.02/02-history.html|publisher=Harvard University|title=Harvard Gazette: This Month in Harvard History|date=2003-09-02|accessdate=2006-09-15|author=Marvin Hightower}}, "Sept. 8, 1836 - Some 1,100 to 1,300 alumni flock to Harvard's Bicentennial, at which a professional choir premieres "Fair Harvard." ... guest speaker Josiah Quincy Jr., Class of 1821, makes a motion, unanimously adopted, 'that this assembly of the Alumni be adjourned to meet at this place on the 8th of September, 1936.'" Tercentary opening of Quincy's sealed package: ''The New York Times,'' September 9, 1936, p. 24, "Package Sealed in 1836 Opened at Harvard. It Held Letters Written at Bicentenary": "September 8th, 1936: As the first formal function in the celebration of Harvard's tercentenary, the Harvard Alumni Association witnessed the opening by President Conant of the 'mysterious' package sealed by President Josiah Quincy at the Harvard bicentennial in 1836."</ref>
บรรทัด 31:
|logo = [[ไฟล์:Harvard University logo.PNG|248px|Harvard University logo]]}}
 
'''มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ด''' ({{lang-en|Harvard University}} อ่านว่า ''ฮาร์เวิร์ด'') [[มหาวิทยาลัยเอกชน]]ใน[[เคมบริดจ์ (แมสซาชูเซตส์)|เมืองเคมบริดจ์]] [[รัฐแมสซาชูเซตส์]] [[สหรัฐอเมริกา]]ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลก แห่งหนึ่งและเป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี [[8 กันยายน]] [[พ.ศ. 2179]] (ค.ศ. 1636) มีอายุครบ 370 ปีใน [[พ.ศ. 2549]]
 
ฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ดเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่ม[[ไอวีลีก]] โดยในปี พ.ศ. 2552-2553 มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ดยังคงได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งของสหรัฐอเมริกา โดยนิตยสาร[[ยูเอสนิวส์]]<ref>[http://edition.cnn.com/2008/LIVING/08/22/college.rankings.ap/index.html Harvard reclaims No. 1 spot on list of nation's top schools]</ref> และได้รับการจัดอันดับโดย[[ไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์]]<ref>[http://en.wikipedia.org/wiki/THE_-_QS_World_University_Rankings Times Higher Education-QS World University Rankings]</ref> ให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งของโลก ติดต่อกันมายาวนานหลายปี
[[ไฟล์:Harvard_Yard01.JPG|thumb|300px|ฮาร์วาร์ดยาร์ด และรูปปั้นจอห์น ฮาร์วาร์ด]]
== ประวัติมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ด ==
กลุ่มผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดคือฮาร์เวิร์ดดคือ คณะนักบวชที่เรียกตนเองว่า "[[เพียวริตัน]]" ซึ่งอพยพมาจาก[[ประเทศอังกฤษ]]โดยได้มีตั้งวิทยาลัยขึ้นมา มีจุดประสงค์ที่จะสร้างนักบวชเพื่อให้สามารถเผยแพร่ศาสนาตามแนวทางของลัทธิของตนได้ โดยเริ่มต้นในชื่อว่า "เดอะ นิว คอลเลจ" (The New College) ในปี [[พ.ศ. 2179]] (ค.ศ. 1636) และได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อ วิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ด (Harvard College) เมื่อ [[13 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2182]] (ค.ศ. 1639) ซึ่งตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่ [[จอห์น ฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ด]] นักบวชเพียวริแตนท่านหนึ่ง ซึ่งสำเร็จการศึกษาจาก[[วิทยาลัยเอมมานูเอล]] (Emmanuel College) ของ[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] ผู้ได้ทำพินัยกรรมบริจาคหนังสือจำนวนประมาณ 400 เล่มและเงินจำนวนหนึ่งที่ไม่มากนักแก่ทางวิทยาลัย และในปี [[พ.ศ. 2323]] (ค.ศ. 1780) วิทยาลัยได้เปลี่ยนเป็น[[มหาวิทยาลัย]] ในชั้นแรกนั้นวิทยาลัยมีครูเพียงคนเดียว และมีนักเรียนชุดแรก 12 คน โดยเป็นลักษณะโรงเรียนกินนอน
 
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ดเริ่มเข้าสู่ยุคของความเป็นมหาวิทยาลัยสมัยใหม่ภายใต้การบริหารของ อธิการบดี ชาร์ล วิลเลียม อีเลียต (Charles William Eliot) ในระหว่างปี ค.ศ. 1869-1909 โดยอธิการบดีอีเลียต ได้เริ่มนำระบบวิชาเลือก การใช้ระบบหน่วยกิต การสอบคัดเลือก เข้ามาใช้กับมหาวิทยาลัย
 
== เกียรติภูมิของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ด ==
[[ไฟล์:HarvardYard001.JPG|thumb|อาคารในมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ด]]
 
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ดมีชื่อเสียงมากในเรื่องคุณภาพทางวิชาการ คุณภาพของอาจารย์ที่สอนและคุณภาพของนักศึกษา โดยศิษย์เก่าและอาจารย์ของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ดได้รับ[[รางวัลโนเบล]]รวมกัน 75 รางวัล และ[[รางวัลพูลิตเซอร์]] 15 รางวัลตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2517]] มีคณาจารย์เข้าไปเป็นที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลหลายท่าน และได้ผลิตผู้บริหารองค์การทางธุรกิจที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก ทำให้นักธุรกิจหรือผู้ประสงค์ที่จะประสบความสำเร็จทางธุรกิจจากทั้งในและนอกประเทศได้เข้ามาเรียนกันมาก
 
ในปัจจุบัน [[ห้องสมุด]]ของมหาวิทยาลัยได้ชื่อว่าเป็นห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในโลก (15,555,533 เล่ม) [http://www.libraryspot.com/features/largestlibraries.htm] และฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ดได้ชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่มีเงินกองทุน (Endowment) สูงที่สุดในโลก คือ 34.9 พันล้าน[[ดอลลาร์สหรัฐ]] (พ.ศ. 2550) [http://boston.com/business/globe/articles/2007/08/22/harvard_endowment_has_7_year_best_hits_349b/]
 
== ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง ==
บรรทัด 58:
* [[บารัก โอบามา]]
 
นอกจากนี้ยังมีมหาเศรษฐี [[บิล เกตส์]] เจ้าของบริษัทคอมพิวเตอร์[[ไมโครซอฟท์]] (ดรอปเรียนในช่วงปริญญาตรี ขณะอายุ 19 ปี เพื่อไปสานต่อความฝันทางธุรกิจ จนกระทั่งประสบความสำเร็จ และต่อมาทางมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ดได้ประสาทปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ให้ในปี ค.ศ. 2007) และผู้ที่ได้รับ[[รางวัลโนเบล]]อีก 15 คน
 
=== ศิษย์เก่าชาวไทยที่มีชื่อเสียง ===
บรรทัด 92:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์|Harvard}}
* [http://www.harvard.edu/ เว็บไซต์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ด]
* [http://hcs.harvard.edu/~thai/ Harvard Thai Society] สมาคมนักเรียนไทย
* [http://clubs.harvard.edu/olc/pub/HAA/university/home.jsp?chapter=112 Harvard Club of Thailand] สมาคมนักเรียนไทย
บรรทัด 98:
{{ไอวีลีก}}
 
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในรัฐแมสซาชูเซตส์|ฮาร์วาร์ดฮาร์เวิร์ด]]
[[หมวดหมู่:สถาบันการศึกษาที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2179]]