ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟุตบอลในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 39:
ทั้งนี้สนามฟุตบอลในกรุงเทพมหานคร มีหลายแห่งที่สำคัญเช่น [[ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น)]], [[ราชมังคลากีฬาสถาน]], [[สนามกีฬากองทัพบก]], [[สนามกีฬากองทัพอากาศ (ธูปะเตมีย์)]], [[สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]], [[สนามฟุตบอลเทพหัสดิน]], [[แพตสเตเดียม]], [[สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา]] เป็นต้น ส่วนสนามฟุตบอลที่สำคัญในเขตปริมณฑล มีอาทิ [[เอสซีจีสเตเดียม]], [[สนามทีโอที แจ้งวัฒนะ]] ใน[[จังหวัดนนทบุรี]], [[สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต]], [[ลีโอสเตเดียม]] ใน[[จังหวัดปทุมธานี]] เป็นต้น
 
สำหรับสนามฟุตบอลในส่วนภูมิภาคที่สำคัญ นอกจากสนามกีฬากลางประจำจังหวัด ยังมีอีกหลายแห่งเช่น [[สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี]] [[จังหวัดเชียงใหม่]], [[สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550]] [[จังหวัดนครราชสีมา]], [[ชลบุรีสเตเดียม]] ใน[[จังหวัดชลบุรี]], [[นิวไอโมบายสเตเดียม]] ใน[[จังหวัดบุรีรัมย์]], [[สนามกีฬาจิระนคร]], [[มิตรผลสเตเดียม]] ใน[[จังหวัดราชบุรี]] และ[[สนามกีฬาติณสูลานนท์]] ใน[[จังหวัดสงขลา]] เป็นต้น
 
ซึ่ง[[สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย]] (เอเอฟซี) กำหนดให้สโมสรที่เข้าร่วมแข่งขัน รายการ[[เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก]] ต้องมีใบรับรองสโมสร (Club licensing) อย่างถูกต้องตามที่เอเอฟซีกำหนด จึงสามารถใช้สนามเหย้าทำการแข่งขันได้ โดยในปัจจุบัน ประเทศไทยมีอยู่ 56 สนามคือ นิวไอโมบายสเตเดียม, เอสซีจีสเตเดียม, ลีโอสเตเดียม, ชลบุรีสเตเดียม, และสนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต และมิตรผลสเตเดียม นอกจากนี้ ยังมีอีกสองสนาม ที่เอเอฟซีใกล้จะออกใบรับรองสโมสรคือ สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา และ[[สนามกีฬากลางจังหวัดชัยนาท]] ใน[[จังหวัดชัยนาท]] สำหรับสนามฟุตบอลที่[[สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ]] (ฟีฟ่า) รับรองมาตรฐาน ในประเทศไทยมีเพียงแห่งเดียวอยู่ 2 สนามคือ นิวไอโมบายสเตเดียม และมิตรผลสเตเดียม
 
== ผู้สนับสนุนฟุตบอลไทย ==