ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอรอน สวอตซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matiia (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 134.236.16.229 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Pilarbini
บรรทัด 26:
 
== ชีวิตและการงาน ==
[[ไฟล์:Aaron_Swartz_and_Lawrence_Lessig.jpg|right|thumb|สวอตซ์ในปี 2545 (อายุ 15 ปี) กับ ลอว์เรนซ์ เลสสิก ในงานเลี้ยงเปิดตัวของ[[ครีเอทีฟคอมมอนส์]]]]
วันๆนั่งชิวๆกินปลาซิวผิวปากไปไก่จังเลย และ dovakin
[[ไฟล์:Aaron_Swartz_-_The_Network_Transformation.webm|thumb|สวอตซ์ขณะบรรยายการเปลี่ยนแปลงจากระบบจากระบบหนึ่งต่อกลุ่ม สู่ระบบกลุ่มสู่กลุ่ม ของแผนผังการสื่อสารแบบเครือข่าย ในซานฟรานซิสโก เมษายน ปี 2550 (9:29)]]
สวอตซ์เกิดที่[[ไฮแลนด์พาร์ก]] [[รัฐอิลลินอยส์]]<ref name="patchcom"><cite class="citation web">Skaggs, Paula (January 16, 2013). </cite></ref><ref>http://www.rollingstone.com/culture/news/the-brilliant-life-and-tragic-death-of-aaron-swartz-20130215?page=2</ref> แถบชานเมืองของ[[ชิคาโก]] เป็นลูกชายคนโตของครอบครัวชาวยิว โดยมี ซูซัน และ รอเบิร์ต สวอตซ์เป็นแม่และพ่อ<ref name="yearwood"><cite class="citation news" contenteditable="false">Yearwood, Pauline (February 22, 2013). </cite></ref><ref name="Folkhero"><cite class="citation news" contenteditable="false">Nelson, Valerie J. (January 12, 2013). </cite></ref> พ่อของเขาเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทซอฟต์แวร์ที่ชื่อว่า [[:en:Mark_Williams_Company|Mark Williams Company]] สวอตซ์ได้จมตัวเองกับการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ การโปรแกรม อินเทอร์เน็ต และ[[:en:Cyberculture|วัฒนธรรมอินเทอร์เน็ต]]<ref name="Life Story"><cite class="citation web" contenteditable="false">Swartz, Aaron (September 27, 2007). </cite></ref> ในวัยเด็กเขาเข้าเรียนที่ North Shore Country Day School ซึ่งเป็นโรงเรียนเอกชนเล็กๆใกล้กับชิคาโกจนถึงชั้นมัธยมศึกษาที่ 3<ref><cite class="citation news" contenteditable="false">[http://articles.chicagotribune.com/2013-01-13/news/chi-aaron-swartz-dead_1_reddit-computer-network-websites "Reddit co-creator Aaron Swartz dies from suicide"]. </cite></ref> สวอตซ์ได้ออกจาก[[ไฮสกูล]]ในชั้นมัธยมศึกษาที่ 4 และได้ลงทะเบียนเข้าเรียนหลักสูตรที่มหาลัยแถบชิคาโก<ref name="skaggs"><cite class="citation news" contenteditable="false">Skaggs, Paula (January 15, 2013). </cite></ref><ref name="postno21"><cite class="citation web" contenteditable="false">Swartz, Aaron (January 14, 2002). </cite></ref>
 
ตอนอายุ 13 สวอตซ์ได้ชนะรางวัล ArsDigita Prize ซึ่งจะให้เหล่าผู้เยาว์ที่สร้างเว็ปไซต์ที่ไม่แสวงหากำไรซึ่ง "มีประโยชน์ ให้ความรู้ และสร้างความสามัคคี"<ref name="yearwood"><cite class="citation news" contenteditable="false">Yearwood, Pauline (February 22, 2013). </cite></ref><ref name="schofield"><cite class="citation news" contenteditable="false">Schofield, Jack (January 13, 2013). </cite></ref> เมื่ออายุ 14 ปี เขาได้เข้าเป็นสมาชิคของกลุ่มงานที่เป็นผู้สร้างข้อมูลจำเพาะของระบบการกระจายข่าวทางเว็บไซต์ [[อาร์เอสเอส|RSS 1.0]]
 
=== W3C ===
ในปี 2544 สวอตซ์เข้าร่วมกลุ่มทำงาน RDFCore ใน [[เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม|World Wide Web Consortium]] (W3C)<ref><cite class="citation web" contenteditable="false">[http://www.w3.org/2001/sw/RDFCore/members.html "RDFCore Working Group Membership"]. </cite></ref> ซึ่งเขาเป็นผู้เขียน RFC 3870 หรือ การขึ้นทะเบียนชนิดสื่อสิ่งพิมพ์ของ Application/RDF+XML โดยเอกสารนั้นระบุเกี่ยวกับ[[:en:Internet_media_type|ชนิดสื่อสิ่งพิมพ์]]รูปแบบใหม่ที่เรียกว่า "[[:en:RDF/XML|RDF/XML]]" ซึ่งถูกออกแบบมาให้ใช้กับ[[เว็บเชิงความหมาย]]<ref name="rdf"><cite class="citation web" contenteditable="false">Swartz, A. (September 2004). </cite></ref>
 
=== มาร์กดาวน์ ===
สวอตซ์เป็นผู้มีส่วนร่วมหลักในการพัฒนา[[มาร์กดาวน์]]<ref name="markdown-swartz"><cite class="citation web" contenteditable="false">[http://www.aaronsw.com/weblog/001189 "Markdown"]. </cite></ref><ref name="gruber-2004-release"><cite class="citation web" contenteditable="false">Gruber, John. </cite></ref> ซึ่งเป็นภาษามาร์กอัปเบาสำหรับสร้าง HTML และผู้คิดสร้างตัวแปล html2text ที่ใช้ร่วมกัน โครงสร้างภาษาสำหรับมาร์กดาวน์นั้นได้อิทธิพลมาจากภาษา '''atx '''ของสวอตซ์ (ปี 2545)<ref><cite class="citation web" contenteditable="false">[http://www.aaronsw.com/2002/atx/intro "atx, the true structured text format"].</cite><span class="Z3988" title="ctx_ver=Z39.88-2004&rfr_id=info%3Asid%2Fen.wikipedia.org%3AAaron+Swartz&rft.btitle=atx%2C+the+true+structured+text+format&rft.genre=unknown&rft_id=http%3A%2F%2Fwww.aaronsw.com%2F2002%2Fatx%2Fintro&rft_val_fmt=info%3Aofi%2Ffmt%3Akev%3Amtx%3Abook" contenteditable="false">&nbsp;</span></ref> ซึ่งทุกวันนี้ถูกจดจำจากโครงสร้างภาษาสำหรับบ่งบอกเฮดเดอร์ (header) หรือที่เรียกกันว่า เฮดเดอร์รูปแบบ atx<ref><cite class="citation web" contenteditable="false">[http://daringfireball.net/projects/markdown/syntax#philosophy "Daring Fireball – Markdown – Syntax"].</cite><span class="Z3988" title="ctx_ver=Z39.88-2004&rfr_id=info%3Asid%2Fen.wikipedia.org%3AAaron+Swartz&rft.btitle=Daring+Fireball+%93+Markdown+%93+Syntax&rft.genre=unknown&rft_id=http%3A%2F%2Fdaringfireball.net%2Fprojects%2Fmarkdown%2Fsyntax%23philosophy&rft_val_fmt=info%3Aofi%2Ffmt%3Akev%3Amtx%3Abook" contenteditable="false">&nbsp;</span></ref><source lang="text">
# H1-header
## H2-header
...
###### H6-header
</source>ตัวมาร์กดาวน์เองนั้นถูกใช้อย่างแพร่หลาย
 
=== การลงทุน ===
สวอตซ์เข้าเรียนที่[[มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด]] ในขณะอยู่ปี 1 สวอตซ์ได้สมัครเข้าร่วมโปรแกรมภาคฤดูร้อนครั้งแรกที่จัดขึ้นโดยบริษัท[[:en:Y_Combinator_(company)|วายคอมบิเนเตอร์]] และเสนอว่าจะทำงานให้กับบริษัทเกิดใหม่ (startup) ที่มีชื่อว่า ''อินโฟกามิ'' (<span>Infogami</span>'')'' ซึ่งถูออกแบบให้เป็น[[ระบบจัดการเนื้อหา]]ที่มีความยืดหยุ่น เพื่อสร้างเว็ปโซต์ที่มีความอุดมสมบูรณ์และน่าสนใจ<ref name="starsrise"><cite class="citation news" contenteditable="false">Ryan, Singel (2005-09-13). </cite></ref> หรือรูปแบบหนึ่งของวิกิสำหรับข้อมูลที่มีโครงสร้าง หลังจากทำงานกับ อินโฟกามิ ด้วยกันกับผู้ก่อตั้งร่วมที่มีชื่อว่า ไซมอน คาร์สเทนเซ็น (Simon Carstensen) ตลอดฤดูร้อนของปี 2548,<ref>https://dk.linkedin.com/in/simoncarstensen</ref> อารอนตัดสินใจที่จะไม่กลับไปเรียนที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดแต่กลับมุ่งหน้าพัฒนาและหาทุนให้กับอินโฟกามิ<ref name="starsrise"><cite class="citation news" contenteditable="false">Ryan, Singel (2005-09-13). </cite></ref>
 
โครงร่างเว็ปไซต์ web.py ถูกสร้างขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของงานจากอินโฟกามิ เนื่องจากการที่อารอนไม่ชอบระบบที่มีอยู่ใน[[ภาษาไพทอน]] ในต้นฤดูใบไม้ร่วงของปี 2548 สวอตซ์ได้ทำงานกับผู้ก่อตั้งของบริษัทหน้าใหม่ที่ชื่อว่า [[:en:Reddit|เรดดิต]] ภายใต้บริษัทวายคอมบิเนเตอร์ เพื่อเขียนพื้นฐานโค้ดที่อยู่ใน[[ภาษาลิสป์]]ใหม่ โดยใช้[[ภาษาไพทอน]]และ web.py<ref name="grehan"><cite class="citation web" contenteditable="false">Grehan, Rick (August 10, 2011). </cite></ref>
 
เมื่อครั้นอินโฟกามิประสบปัญหาทางด้านทุนทรัพย์ ผู้สร้างของวายคอมบิเนเตอร์ได้เสนอให้อินโฟกามิรวมเข้ากับ[[:en:Reddit|เรดดิต]]<ref name="infogami2007"><cite class="citation web" contenteditable="false">Swartz, Aaron (2007). </cite></ref><ref name="startup"><cite class="citation web" contenteditable="false">[https://web.archive.org/web/20070823200504/http://startupstories.com/2006/11/29/passion-for-your-users-will-come-back-alexis-ohanian-co-founder-of-reddit/ "A passion for your users brings good karma: (Interview with) Alexis Ohanian, co-founder of reddit.com"]. </cite></ref> โปรเจกต์ทั้งสองได้รวมกันในปี 2548 กลายเป็นบริษัทใหม่ที่ชื่อว่า ''น็อท อะ บัค'' (''Not A Bug) ''ซึ่งมุ้งเน้นไปในการพัฒนาโปรเจกต์ทั้งสอง<ref name="infogami2007"><cite class="citation web" contenteditable="false">Swartz, Aaron (2007). </cite></ref><ref name="Wired-arrest"></ref> แม้ตอนแรกทั้งสองโปรเจกต์จะมีปัญหาทางด้านการดึงดูดกลุ่มผู้ใช้ เรดดิตเริ่มเป็นที่นิยมในวงกว้างช่วงปี 2548 และ 2549
 
ในเดือนตุลาคม ปี 2549 บนพื้นฐานของความสำเร็จของเรดดิต น็อท อะ บัค ได้ถูกโอนกรรมสิทธิ์ให้กับ สำนักพิมพ์ [[:en:Condé_Nast_Publications|Condé Nast]] เจ้าของ''[[:en:Wired_(magazine)|นิตยสารไวร์ด์]]''<ref name="Life Story"><cite class="citation web" contenteditable="false">Swartz, Aaron (September 27, 2007). </cite></ref><ref name="acquired"><cite class="citation web" contenteditable="false">[http://techcrunch.com/2006/10/31/breaking-news-conde-nastwired-acquires-reddit/ "Breaking News: Condé Nast/Wired Acquires Reddit"]. </cite></ref> สวาร์สซกับบริษัทของเขาได้ย้ายไปทำงานให้กับนิตยสารไวร์ด์ที่ซานฟรานซิสโก<ref name="Life Story"><cite class="citation web" contenteditable="false">Swartz, Aaron (September 27, 2007). </cite></ref> ทว่าจากนั้นสวอตซ์ไม่พอใจกับการทำงานในออฟฟิศ และได้ออกจากบริษัทในที่สุด<ref name="A Chat with Aaron Swartz"><cite class="citation web">Lenssen, Philipp (2007). </cite></ref>
 
ในเดือนกันยายนปี 2550 สวอตซ์ได้ร่วมมือกับผู้ก่อตั้งร่วมของอินโฟกามิที่ชื่อว่า ไซมอน คาร์สเทนเซ็น ในการเปิดตัวบริษัทใหม่ชื่อ ''จอททิต'' (Jottit) เป็นความพยายามอีกครั้งที่จะสร้าง[[ระบบจัดการเนื้อหา]]ขับเคลื่อนโดย[[มาร์คดาวน์]]ใน[[ภาษาไพทอน]]<ref><cite class="citation web" contenteditable="false">[https://www.reddit.com/r/programming/comments/2q1nf/aaron_swartzs_jottit_has_been_officially_released/ "Aaron Swartz's Jottit has been officially released"]. </cite></ref>
 
==== ร่างรัฐบัญญัติหยุดยั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์ ====
[[ไฟล์:AaronSwartzPIPA.jpg|right|thumb|สวอตซ์ในปี 2555 ขณะประท้วงต่อต้าน[[ร่างรัฐบัญญัติหยุดยั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์]] (SOPA)]]
สวอตซ์มีส่วนร่วมในการรณรงค์ต่อต้าน[[ร่างรัฐบัญญัติหยุดยั้งการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์]] (SOPA) ซึ่งมีเป้าหมายในการต่อต้านการละเมิดลิขสิทธิ์บนอินเทอร์เน็ต แต่กลับถูกวิจารย์ในพื้นฐานที่การต่อต้านนั้นทำให้รัฐบาลสหรัฐเข้าปิดเว็ปไซต์ที่ถูกกล่าวหาว่าละเมิดลิขสิทธิได้ง่ายขึ้น และยังส่งผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต<ref name="stuff1"><cite class="citation news" contenteditable="false">Wagner, Daniel; Verena Dobnik (January 13, 2013). </cite></ref> หลังจากที่ร่างกฎหมายถูกยกเลิก สวอตซ์ได้เป็นผู้บรรยายจากองค์ปาฐก ณ งาน F2C:Freedom to Connect 2012 ที่ วอชิงตัน ดี.ซี. ในวันที่ 21 พฤษภาคม ปี 2555 ภายใต้หัวข้อการบรรยายชื่อ "เราหยุด SOPA ได้อย่างไร" ซึ่งเขาได้บอกผู้ชมว่า
 
"เราชนะการต่อสู้ครั้งนี้เพราะทุกคนทำให้ตัวเองเป็นวีรบุรุษในเรื่องของตนเอง ทุกคนทำให้การรักษาเสรีภาพนี้เป็นหน้าที่ของตนเอง"<ref name="F2c2"></ref><ref name="agdemnow"></ref> เขาอ้างถึงการประท้วงต่อร่างกฎหมายโดยหลากหลายเว็ปไซต์ซึ่งถูกกล่าวถึงใน [[:en:Electronic_Frontier_Foundation|Electronic Frontier Foundation]] ว่าใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของอินเทอร์เน็ต โดยมีเว็ปไซต์มากกว่า 115,000 เว็ปไซต์ทำการปรับแต่งหน้าเพจของตนเอง <ref><cite class="citation" id="CITEREF2012" contenteditable="false">[http://rt.com/news/sopa-postponed-anonymous-piracy-337/ "Bill Killed: SOPA death celebrated as Congress recalls anti-piracy acts"], ''Russian Times'', January 19, 2012</cite><span class="Z3988" title="ctx_ver=Z39.88-2004&rfr_id=info%3Asid%2Fen.wikipedia.org%3AAaron+Swartz&rft.atitle=Bill+Killed%3A+SOPA+death+celebrated+as+Congress+recalls+anti-piracy+acts&rft.date=2012-01-19&rft.genre=article&rft_id=http%3A%2F%2Frt.com%2Fnews%2Fsopa-postponed-anonymous-piracy-337%2F&rft.jtitle=Russian+Times&rft_val_fmt=info%3Aofi%2Ffmt%3Akev%3Amtx%3Ajournal" contenteditable="false">&nbsp;</span></ref> สวอตซ์ยังได้บรรยายหัวข้อนี้ในงานจัดโดย [[:en:ThoughtWorks|ThoughtWorks]] อีกด้วย<ref><cite class="citation web" contenteditable="false">Swartz, Aaron (August 16, 2012). </cite></ref>
 
=== วิกิพีเดีย ===
[[ไฟล์:Aaron_Swartz_at_Boston_Wikipedia_Meetup,_2009-08-18.jpg|thumb|สวอตซ์ ณ 2009 Boston Wikipedia Meetup]]
สวอตซ์ได้เป็นอาสาสมัครแก้ไขบทความใน[[วิกิพีเดีย]] และในปี 2549 สวอตซ์ได้เขียนบทวิเคราะห์เกี่ยวกับวิธีที่บทความในวิกิพิเดียถูกเขียน และได้สรุปว่าข้อมูลส่วนใหญ่ในบทความต่างๆนั้นมาจากผู้มีส่วนร่วมเป็นครั้งคราว หรือ "คนนอก" นับหมื่นคน ซึ่งอาจไม่มีส่วนร่วมอื่นในวิกิพีเดียเลย ส่วนกลุ่มสมาชิกหลักซึ่งประกอบด้วย 500 ถึง 1000 คนที่เป็นสมาชิกประจำ ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นผู้แก้ไขตัวสะกดและข้อผิดพลาดทางรูปแบบ<ref name="whowriteswikipedia"><cite class="citation web" contenteditable="false">Swartz, Aaron (September 4, 2006). </cite></ref> สวอตซ์ได้กล่าวว่า "ผู้แก้ไขรูปแบบเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้มีส่วนร่วม ไม่ใช่ในทางกลับกัน"<ref name="whowriteswikipedia"><cite class="citation web" contenteditable="false">Swartz, Aaron (September 4, 2006). </cite></ref><ref><cite class="citation news" contenteditable="false">Blodget, Henry (January 3, 2009). </cite></ref>
 
== JSTOR ==