ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิมพาลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: อิโมจิ
บรรทัด 4:
| status_ref = <ref name=iucn>{{IUCN2008|assessors=IUCN SSC Antelope Specialist Group |year=2008|id=550|title=Aepyceros melampus|downloaded=18 January 2009}} Database entry includes a brief justification of why this species is of least concern</ref>
| trend = stable
| image = BotswanaAepyceros Nxaimelampus PanImpala NPin ImpalaTanzania 3579 cropped MaleNevit.jpg
| image_width = 200px
| image_caption = อิมพาลาอิมพาลาธรรมดา[[ตัวผู้]] (♂)
| image2 = RooibokAepyceros melampus Impala in Tanzania 0821 cropped Nevit.jpg
| image2_width = 200px
| image2_caption = อิมพาลาธรรมดา[[ตัวเมีย]] (♀)
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 21:
| species = '''''A. melampus'''''
| subdivision_ranks = [[Subspecies|ชนิดย่อย]]
| subdivision = * ''[[Aepyceros melampus petersi|A. m. petersi]]''
* ''A. m. melampus'' <small>Bocage, 1879</small>
* ''A. m. petersi'' <small>Lichtenstein, 1812</small>
| range_map=Leefgebied_impala.JPG
| range_map= Impala.png
| range_map_caption=[[แผนที่]]แสดงการกระจายพันธุ์ ([[สีน้ำเงิน]]-อิมพาลาหน้าดำ, [[สีแดง]]-อิมพาลาธรรมดา)
| binomial = ''Aepyceros melampus''
| binomial_authority = ([[Martin Lichtenstein|Lichtenstein]], [[ค.ศ. 1812|1812]])
}}
 
'''อิมพาลา''' ({{lang-en|Impala}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Aepyceros melampus}}) เป็นสัตว์กีบคู่มีเขาใหญ่เป็นเกลียว ซึ่งอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของ[[ทวีปแอฟริกา]] มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Aepyceros melampus'' (แบ่งได้เป็น 2 [[ชนิดย่อย]]-ดูในตาราง) จัดอยู่ในวงศ์ย่อย Aepycerotinae ในวงศ์ใหญ่ [[Bovidae]] ซึ่งเป็น[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]เดียวกับ[[วัว]]หรือ[[แพะ]], [[แกะ]] จัดเป็น[[สิ่งมีชีวิต]]เดียวเท่านั้นที่อยู่ในวงศ์ย่อยนี้และ[[genus|สกุล]]นี้<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=625076 จาก ITIS.gov {{en}}]</ref>
 
คำว่า "อิมพาลา" มาจาก[[ภาษาซูลู]] ซึ่งเป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกสัตว์ชนิดนี้ ถูกบันทึกไว้ครั้งแรกเป็นลายลักษณ์อักษรในปี ค.ศ. 1885 ใน[[ภาษาแอฟริคานส์]]เรียก "รูอิบอก" (Rooibok)<ref>{{cite book |last1 = Liebenberg |first1 = L. |title = A Field Guide to the Animal Tracks of Southern Africa |date = 1990 |publisher = D. Philip |location = Cape Town, South Africa |isbn = 978-0-86486-132-0 |pages = 275–6 |url = {{Google Books|id=3Aco4wVvpdUC|page=275|plainurl=yes}} |oclc = 24702472}}</ref> และชื่อวิทยาศาสตร์ ''Aepyceros melampus'' คำว่า ''Aepyceros'' มาจาก[[ภาษากรีก]]คำว่า αιπος (อ่านออกเสียง: aipos) แปลว่า "สูง" และ κερος (อ่านออกเสียง: ceros) แปลว่า "เขาสัตว์" <ref>{{cite book |last1 = Briggs |first1 = M. |last2 = Briggs |first2 = P. |title = The Encyclopedia of World Wildlife |date = 2006 |publisher = Parragon Publishers |location = Somerset, UK |isbn = 978-1-4054-8292-9 |page = 114 |url = {{Google Books|id=LEZfe9Xxm1wC|page=114|plainurl=yes}}}}</ref> และ ''melampus'' แปลงมาจากภาษากรีกคำว่า μελάς (อ่านออกเสียง: ''melas'') แปลว่า "สีดำ" และ πούς (อ่านออกเสียง: pous) แปลว่า "เท้า"<ref>{{cite web |last1 = Huffman |first1 = B. |title = Impala (''Aepyceros melampus'') |url = http://www.ultimateungulate.com/artiodactyla/aepyceros_melampus.html |website = Ultimate Ungulate |publisher = Ultimate Ungulate |accessdate = 10 April 2016 }}</ref>
 
อิมพาลาเป็นสัตว์ที่มีความใกล้เคียงกับ[[แอนทิโลป]] มีถิ่นกำเนิดใน[[ทวีปแอฟริกา]]ตั้งแต่ใต้[[เส้นศูนย์สูตร]]ลงมา มีรูปร่างสวยงามได้สัดส่วน ขนมี[[สีน้ำตาล]][[แดง]]มันเป็นเงา บริเวณใต้คาง ลำคอ และด้านท้องเป็น[[สีขาว]] แต่มีลักษณะเด่น คือ ริ้วขน[[สีดำ]]ตรงบริเวณด้านหลังขาอ่อนและปอยขนสีดำตรงบริเวณสันหลังของขาหลัง [[ตัวผู้]]จะมีเขาที่สวยงามคดโค้งเป็นเกลียวคล้ายตัว[[s|เอส]] ส่วน[[ตัวเมีย]]จะไม่มีเขา และมีขนาดลำตัวเล็กกว่า
 
อิมพาลากระจายพันธุ์อยู่ในทุ่งหญ้า[[savanna|ทุ่งหญ้าสะวันนา]] ซึ่งเป็น[[ทุ่งหญ้า]]ใน[[เขตร้อน]]ที่มีลักษณะเป็นที่ราบและมี[[ต้นไม้]]ขึ้นประปราย โดยจะอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ สมาชิกในฝูงจะมีปะปนกันทั้งตัวผู้และตัวเมียที่ยังเล็ก จำนวนประมาณ 15-25 ตัว โดยมีตัวผู้ขนาดใหญ่เป็นจ่าฝูง ในช่วง[[ฤดูแล้ง]] ที่อาหารขาดแคลน ทั้งตัวผู้และตัวเมียที่โตเต็มที่แล้วจะมาชุมนุมกันเป็นฝูงใหญ่นับร้อยตัว ซึ่งในการชุมนุมแต่ละครั้ง อิมพาลาจะมีพฤติกรรมประการหนึ่งที่ยังอธิบายสาเหตุไม่ได้ คือ จะ[[กระโดด]]สูง โดยสามารถกระโดดได้สูงถึง 30 [[ฟุต]] อิมพาลาตัวที่โตเต็มวัยกระโจนได้ไกลถึง 10 เมตร และวิ่งได้เร็วถึง 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง<ref>''สามเหลี่ยมโอคาแวนโก ตอนที่ 4'', สุดหล้าฟ้าเขียว. สารคดีโดย ปองพล อดิเรกสาร ทางช่อง 3: เสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2556</ref>
 
อิมพาลา ถูกแบ่งออกได้เป็น 6 ชนิดย่อย แต่มี 2 ชนิดย่อยที่ได้รับการรับรอง โดยพิจารณาจากความแตกต่างกันของ[[ดีเอ็นเอ]]<ref>LOUISE GRAU NERSTING and PETER ARCTANDER: ''Phylogeography and conservation of impala and greater kudu''. Molecular Ecology (2001) 10 , 711–719</ref> คือ
[[ภาพ:Aepyceros melampus petersi ♂.jpg|thumb|left|อิมพาลาหน้าดำตัวผู้ (♂)]]
[[ภาพ:Aepyceros melampus petersi.jpg|thumb|left|อิมพาลาหน้าดำตัวเมีย (♀)]]
* ''A. m. melampus'' <small>Lichtenstein, 1812</small>: อิมพาลาธรรมดา พบกระจายพันธุ์ในภาคตะวันออกจนถึงแอฟริกาใต้ ตั้งแต่[[Kenya|เคนยา]]จนถึง[[South Africa|แอฟริกาใต้]] และตอนใต้ของ[[Angola|แองโกลา]]
* ''A. m. petersi'' <small>[[José Vicente Barbosa du Bocage|Bocage]], 1879</small>: อิมพาลาหน้าดำ เป็น[[สิ่งมีชีวิตเฉพาะถิ่น]] โดยจะพบเฉพาะทางตะวันตกเฉียงใต้ของแองโกลาและทางเหนือของ[[นามิเบีย]]เท่านั้น มีลักษณะแตกต่างจากอิมพาลาธรรมดาตรงที่มีแผ่นสีดำเป็นทางยาวเห็นได้ชัดบนใบหน้าจากหัวลงไปถึงจมูก มีขนาดใหญ่กว่า สีดำกว่า และหางยาวกว่าและเป็นพวงกว่าอิมพาลาทั่วไป ปัจจุบัน อิมพาลาหน้าดำมีอยู่จำนวนมากใน[[Etosha National Park|อุทยานแห่งชาติอีโตชา]]และเขตอนุรักษ์เอกชนที่อยู่รอบ ๆ<ref>[http://www.adirexphotogallery.com/index.php?lay=show&ac=photo_view&event_id=13380 Black-faced Impala, Etosha, Namibia อิมพาลาหน้าดำ อีโตชา ประเทศนามีเบีย]</ref> จัดอยู่ในสถานะของ[[สิ่งมีชีวิตที่เกือบอยู่ในข่ายใกล้การสูญพันธุ์]]<ref>[http://www.iucnredlist.org/apps/redlist/details/549/0 ''Aepyceros melampus'' ssp. ''petersi'' {{en}}]</ref>
 
อาหารหลักของอิมพาลา คือ [[ใบไม้|ใบ]]และ[[กิ่งไม้|กิ่ง]]ของพืชจำพวก[[Acacia|อาคาเซีย]] ที่ขึ้นอยู่ทั่วไปในแอฟริกา นอกจากนี้แล้วยังกิน[[ผลไม้]]และ[[หญ้า]]ขนาดสั้น ๆ เป็นอาหารได้อีกด้วย อิมพาลาสามารถที่จะอดน้ำได้หลาย ๆ วัน โดยอาศัยเลียกินตามใบไม้ ใบหญ้าได้ เป็นสัตว์ที่มีความตื่นตัวตลอดเวลาทั้ง[[กลางวัน]]และ[[กลางคืน]] เพราะเป็นสัตว์ที่ถูกล่าจาก[[สัตว์กินเนื้อ]] ทั้ง[[สิงโต]], [[เสือดาว]], [[เสือชีตาห์]], [[ไฮยีนา]]