ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารเสพติด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matiia (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 182.52.175.19 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Gugorya
บรรทัด 1:
{{issues|มุมมองสากล=yes|รีไรต์=yes|เพิ่มอ้างอิง=yes}}
คือ ซีรีส์โทรทัศน์สำหรับเด็ก ๆ ของอังกฤษ โดยมีเป้าหมายผู้ชมอยู่ที่ผู้ชมวัยก่อนเข้าเรียน ออกอากาศ ตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม 1997 ถึง 16 กุมภาพันธ์ 2001 ผลิตรายการโดยผู้อำนวยการฝ่ายสร้างสรรค์ของ แร็กดอลล์ โปรดักชัน แอนน์ วูด และแอนดรูว์ ดาเวนพอร์ท ซึ่งเป็นคนเขียนบทให้เทเลทับบีส์ทั้งหมด 365 ตอน เทเลทับบีส์ออกอากาศผ่านสถานีโทรทัศน์ ตั้งแต่วันที่ 6 เมษายน 1998 ถึง 15 มิถุนายน 2005 และฉายซ้ำจนถึงวันที่ 29 สิงหาคม 2008 หลังจากนั้นก็ถูกดึงออกจากตารางกการออกอากาศ จนกระทั่งปี 2002 ฝ่ายการผลิตได้ออกมาประกาศยกเลิกการผลิตและจะไม่มีตอนใหม่ ๆ ถูกผลิตขึ้นมมาอีกแล้ว โดยตอนสุดท้ายออกอากาศเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2001 เทเลทับบีส์ได้รับรางวัลบาฟต้า จากสถานีโทรทัศน์ BBC ในกลุ่มรายการสำหรับเด็กเล็ก โดยมีตัวละครหลักคือ ทิงกีวิงกี (ม่วง), ดิปซี (เขียว), ลาล่า (เหลือง) และโพ (แดง)
'''สารเสพติด''' หรือ '''ยาเสพติด'''หมายถึง ยาหรือสารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือวิธีใดก้ตาม ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ<ref>[https://blog.eduzones.com/jipatar/85849 สารเสพติด ความหมายของยาเสพติด โทษของยาเสพติด]</ref>
 
== ประวัติ ==
เทเลทับบีส์ทั้งสี่สีเล่นอย่างครื้นเครงและสนุกสนานในเทเลทับบีแลนด์ (Teletubbyland) พวกเขาทำในสิ่งที่เด็กเล็กอยากจะทำ เช่นกลิ้งไปมาบนพื้น, หัวเราะ, วิ่งไปรอบๆ และดูเด็กมนุษย์บนโทรทัศน์ที่หน้าท้อง กังหันลมลึกลับและโทรศัพท์ก็มักจะปรากฏออกมาจากทุ่งหญ้าเพื่อบ่งถึงกิจกรรมในแต่ละวัน พระอาทิตย์ที่มีหน้าเด็กทารก มักจะทำเสียงทารกระหว่างรายการ และจะขึ้นและตกในช่วงเปิดและปิดรายการ
 
กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีการนำเอาโบรไมด์ (Bromide) มาใช้เป็นยาสงบประสาทและรักษาโรคลมชัก ซึ่งได้รับความนิยมมากพอ ๆ กับยาวาเลียม (Valium) และยาริเบรียม (Librium) ในปัจจุบัน แต่โบรไมด์สำสมในร่างกาย ทำให้เกิดอาการวิกลจริต และลายสมองอย่างถาวรด้วย ในระยะใกล้เกียงกันก็มีผู้ผลิตยาบาร์บิทุเรท (Barbiturate) และยาสงบประสาทตัวอื่น ๆ และได้รับความนิยมใช้อย่างแพร่หลายเช่นกัน โดยผู้ใช้ไม่ทราบถึงฤทธิ์ในการเสพติดของยาเหล่านี้ ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีผู้พบโคเคนและกัญชาซึ่งมีฤทธิ์ทำให้จิตใจสบายโคเคนพบว่ามีประโยชน์ทางการรักษาโรคด้วยโดยใช้เป็นยาชาเฉพาะที่ ดังนั้นโคเคนจึงเป็ฯที่นิยมใช้เป็นผลให้มีการเสพติดโคเคน
ปัจจุบัน สถานที่ใช้ถ่ายทำรายการ โดยสมมติว่าเป็นบ้านของเทเลทับบีส์ทั้ง 4 ได้ถูกรื้อถอนเพื่อสร้างเป็นบ้านพักของมารีโอ บาโลเตลลี นักฟุตบอลชาวอิตาเลียน ในสังกัดลิเวอร์พูล
 
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] แอมเฟตามีนถูกนำมาใช้ในกองทหารญี่ปุ่น เยอรมัน อเมริกัน และอังกฤษ เพื่อให้ร่างกายมีกำลังกระฉับกระเฉงอยู่ตลอดเวลา พอหลังสงครามยาซึ่งกองทัพญี่ปุ่นกักตุนไว้มาก็ทะลักสู่ตลาด ทำให้ประชาชนชาวญี่ปุ่นใช้ยากันมาก ในปี ค.ศ.1955 คาดว่ามีชาวญี่ปุ่นติดแอมเฟตามีนราวร้อยละ ๑ ระหว่าง ค.ศ.1960-1970 ในประเทศสวีเดนมีการใช้ยา Phenmetrazine (Preludin) ซึ่งคล้ายแอมเฟตามีน ฉีดเข้าหลอดเลือดดำด้วย ในสหรัฐเมริกาพวกฮิปปี้ซึ่งเคยนิยมใช้ แอลเอสดี (LSD) หรือ Lysergic Acid Diethylamide) ก็ค่อย ๆ หันมาใช้แอมเฟตามีนฉีดเข้าหลอดเลือดดำ เช่นกัน
 
ระหว่างปี ค.ศ. 1960-1970 ยาหลอนประสาทเริ่มถูกนำมาใช้และใช้มากหลัง ค.ศ.1970 ผู้เสพส่วนใหญ่เป็นชาวอเมริกันวันรุ่นที่มีฐานะทางเศรษฐกิจปานกลางโดยเริ่มจาก แอลเอสดี ซึ่ง Hofmannเป็นผู้ค้นพบในปี ค.ศ.1953 เนื่องจากแอลเอสดีทำให้เกิดอาการล้าย วิกลจริต จึงมีนักจิตวิเคราะห์บางคนนำมาใช้เพื่อการรักษาผู้ป่วนด้วย เพราะคิดว่ายานี้จะช่วยกำจัด "Repression" ให้หมดไป ด้วยเหตุที่ยานี้ผลิตง่ายปัจจุบันจึงเป็นปัญหามากในอเมริกา<ref>[http://www.sdtc.go.th/paper/31 ประวัติยาเสพติด ความหมาย ความรู้ยาเสพติด ตอน 1]</ref>
 
== การเข้ามาภายในประเทศไทย ==
เริ่มมีมาตั้งแต่สมัย[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1]] (พระเจ้าอู่ทอง) โดยทรงเล็งเห็นโทษของการเสพฝิ่น และทรงลงโทษผู้เสพติดเช่นกัน ระหว่างเหตุการณ์[[สงครามกลางเมืองอเมริกา]] ค.ศ. 1861-1865
เริ่มมีการนำเข็มฉีดยาเข้าใต้ผิวหนังมาใช้ ทำให้มีผู้นำมอร์ฟีนมาใช้ในลักษณะยาเสพติด ต่อมาเมื่อคนรู้จักการฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ เฮโรอีนซึ่งเป็น diethylated form ของมอร์ฟีนก็ถูกนำมาใช้แทนมอร์ฟีน{{อ้างอิง}}
 
== ภาวะการเสพติด คืออะไร ==
 
ภาวะการเสพติด (Addiction) <ref>[http://th.thecabinbangkok.co.th/การรักษาอาการเสพติด/#what-is-addiction ภาวะการเสพติด]</ref> คือ อาการผิดปกติอันเนื่องมาจากการทำงานบกพร่องของเซลล์ในสมองที่ทำให้เกิดความรู้สึกพึงพอใจ โดยภาวะการเสพติดสามารถเกิดขึ้นได้กับบุคคลทุกคนในทุกช่วงวัย
เกือบร้อยละ 60 ของผู้ประสบภาวะการเสพติดมีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมที่ผิดปกติ ส่วนในรายอื่นๆ อาจเกิดจากการที่สมองในส่วนที่ทำหน้าที่สร้างความรู้สึกพึงพอใจ ได้รับการกระตุ้นอย่างรุนแรงจากปัจจัยต่างๆ เช่น ยาเสพติด สารเสพติด หรือการเสพติดพฤติกรรมเป็นระยะเวลานานๆ โดยผู้ตกอยู่ในภาวะการเสพติดจะไม่สามารถมีความสุขได้จากการใช้ชีวิตแบบปกติ ซึ่งภาวะนี้คือสาเหตุที่ผู้ติดสารเสพติด หรือผู้ติดสุราไม่สามารถควบคุมการเสพหรือการดื่มได้จนมีอาการเสพติดเรื้อรัง
 
== ความหมายของยาเสพติดให้โทษ ==
 
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 กำหนดความหมายของคำว่า ยาเสพติดให้โทษ ไว้ดังนี้ คือ สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธี รับประทาน ดม สูบ หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้วทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เช่น
 
* ผู้ที่เสพยา ต้องเพิ่มขนาดการเสพติดมากขึ้นเป็นลำดับ
* ผู้ที่เสพยา จะเกิดอาการถอนยา เมื่อหยุดใช้ยา หรือขาดยา
* ผู้ที่เสพยา จะเกิดความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจ อย่างรุนแรงตลอดเวลา
* ผู้ที่เสพยา จะมีสุขภาพร่างกายที่ทรุดโทรมลง
* หรือกล่าวได้ว่าเป็นยาหรือสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ที่ผู้นั้นใช้อยู่ประจำแล้วยาหรือสารนั้นทำให้มีความผิดปกติที่ระบบประสาทกลางซึ่งจะถือว่าผู้นั้นติดยาเสพติด ถ้ามีอาการต่อไปนี้ อย่างน้อย ๓ ประการคือ ผู้ป่วยจะทำทุกอย่างเพื่อให้ได้ยาหรือสารนั้นมาไว้ แม้เป็นวิธีที่ผิดกฎหมาย เช่นลักขโมยก็จะทำ
* ผู้ป่วยไม่สามารถปฏิบัติงานตามปกติได้เนื่องจากมีอาการพิษหรืออาการขาดยาหรือสารนั้น
* พฤติกรรมของผู้ป่วยเปลี่ยนไป เช่น หยุดงานบ่อย หรือไม่เอาใจใส่ครอบครัว
* ผู้ป่วยต้องเสพยาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ (มี Tolerance)
* เมื่อหยุดเสพหรือลดปริมาณการเสพลงมา จะเกิดอาการขาดยาหรือสารนั้น (Winthdrawal Symptom)
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
[[หมวดหมู่:ยาเสพติด]]