ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิงโตอินเดีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
|synonyms_ref = <ref>Wozencraft, W. C. (2005). "Order Carnivora". In Wilson, D. E.; Reeder, D. M. ''Mammal Species of the World'' (3rd ed.). Johns Hopkins University Press. p. 546. ISBN 978-0-8018-8221-0. OCLC 62265494.</ref>
}}
'''สิงโตอินเดีย''' หรือ '''สิงโตเอเชีย''' หรือ '''สิงโตเปอร์เซีย''' ({{lang-ar|أسد آسيوي}}; {{lang-en|Indian lion, Asiatic lion, Persian lion}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Panthera leo persica}}) เป็น[[ชนิดย่อย]]ของ[[สิงโต]]ที่ยังหลงเหลือในปัจจุบัน มีรูปร่างทั่วไปคล้ายสิงโตที่พบใน[[ทวีปแอฟริกา]] แต่มีขนาดเล็กกว่า โดยตัวผู้เมื่อโตเต็มมี[[น้ำหนัก]]ประมาณ 160–190 [[กิโลกรัม]] ตัวเมียหนักประมาณ 110–120 กิโลกรัม ความยาวหัวถึงหางของตัวผู้ 2.92 [[เมตร]] ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของสิงโตอินเดีย คือ มีแผงคอทั้งตัวผู้และตัวเมีย และแผงคอของตัวผู้ไม่หนาและใหญ่เหมือนสิงโตในทวีปแอฟริกา มองเห็นใบหูเห็นชัดเจน ดังนั้นตัวผู้และตัวเมียจึงมีรูปลักษณ์ที่คล้ายกันมาก นอกจากนี้แล้วยังมีหนังทอดยาวตลอดใต้ลำตัวซึ่งไม่พบในสิงโตในทวีปแอฟริกา
 
มีรูปร่างทั่วไปคล้ายสิงโตที่พบใน[[ทวีปแอฟริกา]] แต่มีขนาดเล็กกว่า โดยตัวผู้เมื่อโตเต็มมี[[น้ำหนัก]]ประมาณ 160–190 [[กิโลกรัม]] ตัวเมียหนักประมาณ 110–120 กิโลกรัม ความยาวหัวถึงหางของตัวผู้ 2.92 [[เมตร]] ลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของสิงโตอินเดีย คือ มีแผงคอทั้งตัวผู้และตัวเมีย และแผงคอของตัวผู้ไม่หนาและใหญ่เหมือนสิงโตในทวีปแอฟริกา มองเห็นใบหูเห็นชัดเจน ดังนั้นตัวผู้และตัวเมียจึงมีรูปลักษณ์ที่คล้ายกันมาก นอกจากนี้แล้วยังมีหนังทอดยาวตลอดใต้ลำตัวซึ่งไม่พบในสิงโตในทวีปแอฟริกา ทั้งนี้เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ต่างกันเนื่องจากสิงโตอินเดียอาศัยอยู่ในป่าทึบไม่เหมือนกับสิงโตในแอฟริกาที่อาศัยอยู่ในทุ่งหญ้าโล่งกว้าง และทำให้สิงโตอินเดียเป็นสัตว์ที่แฝงตัวได้อย่างกลมกลืนกับธรรมชาติรอบตัว<ref name="ป่า"/>
ในอดีต มีการกระจายพันธุ์ในภูมิภาค[[ตะวันออกกลาง]], [[เปอร์เซีย]], [[อิรัก]], [[ซีเรีย]], [[อัฟกานิสถาน]], [[ปากีสถาน]]ไปจนถึง[[ภูมิภาคมาซิโดเนีย|มาซิโดเนีย]]ใน[[กรีซ]]ด้วย แต่ปัจจุบันพบเหลือเพียงแห่งเดียวในธรรมชาติ คือ [[ป่า]]อนุรักษ์ทางตอนเหนือของ[[อินเดีย]]เท่านั้น ([[อุทยานแห่งชาติป่ากีร์]]) แต่ได้เพิ่มจำนวนขึ้นจากเมื่อประมาณ 30 ปี ก่อนที่เหลือเพียงไม่กี่สิบตัวเท่านั้น เป็น 530 ตัวในปัจจุบัน และอยู่ในอัตราที่เพิ่มขึ้น<ref>{{cite web|title=สิงโตเอเซีย Asiatic Lion (10-6-59)|url=http://www.now26.tv/view/79939|publisher=ช่องนาว|date=10 June 2016|accessdate=19 June 2016}}</ref>
 
ในอดีต มีการกระจายพันธุ์ในภูมิภาค[[ตะวันออกกลาง]], [[เปอร์เซีย]], [[อิรัก]], [[ซีเรีย]], [[อัฟกานิสถาน]], [[ปากีสถาน]]ไปจนถึง[[ภูมิภาคมาซิโดเนีย|มาซิโดเนีย]]ใน[[กรีซ]]ด้วย แต่ปัจจุบันพบเหลือเพียงแห่งเดียวในธรรมชาติ คือ [[อุทยานแห่งชาติป่ากีร์]] ใน[[รัฐคุชราต]]อนุรักษ์ทางตอนเหนือของ[[อินเดีย]]เท่านั้น ([[อุทยานแห่งชาติป่ากีร์]])ปัจจุบันได้อยู่ในสถานะวิกฤตต่อการสูญพันธุ์ แต่ได้เพิ่มจำนวนขึ้นจากเมื่อประมาณ 30 ปี ก่อนที่เหลือเพียงไม่กี่สิบตัวเท่านั้น เป็น 530 ตัวในปัจจุบัน และอยู่ในอัตราที่เพิ่มขึ้น<ref name="ป่า">{{cite web|title=สิงโตเอเซีย Asiatic Lion (10-6-59)|url=http://www.now26.tv/view/79939|publisher=ช่องนาว|date=10 June 2016|accessdate=19 June 2016}}</ref>
 
พฤติกรรมการรวมฝูงของสิงโตอินเดีย แตกต่างไปจากสิงโตในทวีปแอฟริกา กล่าวคือ มีขนาดฝูงที่เล็กกว่า โดยมีจำนวนอย่างมากที่สุดเพียง 5 ตัวเท่านั้น และอาจมีตัวเมียเพียง 2 ตัว และอาจมีตัวผู้เป็นจ่าฝูง 2 ตัวก็เป็นได้ โดยเป็นลักษณะร่วมปกครอง ขณะที่ตัวผู้จะเข้าร่วมฝูงก็ต่อเนื่องจะล่าเหยื่อหรือในการ[[สืบพันธุ์|ผสมพันธุ์]]เท่านั้น
เส้น 39 ⟶ 41:
ทางวัฒนธรรมจีน มีการละเล่น[[เชิดสิงโต]] ซึ่งใน[[ประเทศจีน]]เองไม่มีสิงโตเป็นสัตว์พื้นเมือง เชื่อว่าเป็นการรับมาจากเปอร์เซีย ด้วยการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันผ่าน[[เส้นทางสายไหม]] <ref>{{cite web|url=http://my.dek-d.com/cnntuntrain55/blog/?blog_id=10159934|title=ประวัติสิงโตเชิด ตอนที่1 |date=15 July 2012|accessdate=10 June 2014|publisher=my.dek-d.com/}}</ref>
 
สิงโตอินเดียตัวเมียเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 4 ปี ซึ่งมากกว่าสิงโตในทวีปแอฟริกา และจะออกลูกในช่วงเดือน[[กุมภาพันธ์]]ถึงต้นเดือน[[เมษายน]] และมีอายุขัยโดยเฉลี่ย 16-16–18 ปี ในตัวผู้ และตัวเมีย 17-17–18 ปี พบมากที่สุดคือ 21 ปี ถือว่ามากกว่าสิงโตทวีปแอฟริกา<ref>[http://std.kku.ac.th/4831800546/biology/biology.html ชีววิทยาของสิงโต]</ref>
 
==รูปภาพ==