ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟุตบอลฮูลิแกน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q2001756 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-1990-0414-009, FDGB-Pokal, 1. FC Lok Leipzig - Dynamo Schwerin, Ausschreitungen.jpg|thumb|300px|กลุ่มผู้สนับสนุนสโมสรฟุตบอลโลโคโมทีเวอไลพ์ซิกขณะกำลังลุกออกจากที่นั่งระหว่างเกมการแข่งขันกับสโมรสรฟุตบอลดีนาโม-ชเวริน ในการแข่งขันเอฟดีกีบี-โพคาลของ[[ประเทศเยอรมนีตะวันออก|เยอรมนีตะวันออก]] พ.ศ. 2533]]
{{เก็บกวาด}}
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-1990-0414-009, FDGB-Pokal, 1. FC Lok Leipzig - Dynamo Schwerin, Ausschreitungen.jpg|thumb|300px]]
"ฮูลิแกน" หมายถึงคนหนุ่มที่ทำตัวในทางที่ก้าวร้าวมีเสียงดังและชอบใช้ความรุนแรงในที่สาธารณชน ปกติพวก ฮูลิแกนมักจะอยู่อาศัยกันเป็นกลุ่ม.
 
'''ฟุตบอลฮูลิแกน'''<ref>{{cite web | url=http://news.bbc.co.uk/cbbcnews/hi/find_out/guides/sport/international_football/newsid_3089000/3089728.stm | title=What is football hooliganism? | publisher=BBC News | accessdate=12 May 2015}}</ref> ({{lang-en|Football Hooliganism}}) คือพฤติกรรมเกเร ใช้ความรุนแรง และเป็นอันตราย ที่แสดงออกโดยกลุ่มผู้สนับสนุน[[สโมสรฟุตบอล]]หัวรุนแรง เช่น การทะเลาะเบาะแว้ง การทำลายสิ่งของ และการข่มขู่ เป็นต้น<ref name="independent38673">{{Cite news|title=Another sorry outbreak of the English disease |work=[[The Independent]]|date=17 June 2004|url=http://comment.independent.co.uk/leading_articles/article38673.ece|accessdate=2007-07-25 | location=London}}</ref>
"ชาวฟุตบอลฮูลิแกน" นั้นก็คล้ายกันเพียงแต่มีการกีฬาเข้ามายุ่งเกี่ยวด้วย. มันค่อนข้างเป็นไปได้ยากที่จะบ่งบอกหรือแบ่งแยกว่าชาวฟุตบอลฮูลิแกนนั้นมีอายุเท่าไหร่ หรือ ชนชั้นระดับไหน เพราะว่ามันเป็นไปได้กับทุกระดับชนชั้น. ในระดับพื้นฐานส่วนใหญ่เป็นเพราะพวกเขาชอบสิ่ง ที่เกี่ยวข้องกับการต่อสู้ และ ความสนุกบวกกับความตื่นเต้นในการได้เป็นส่วนร่วมของเกมฟุตบอล.
 
โดยปกติแล้วฟุตบอลฮูลิแกนมักจะเกิดขึ้นจากความขัดแย้งระหว่างกลุ่มก๊วนซึ่งเป็นที่รู้จักกันบ่อยครั้งในชื่อ ''ฟุตบอลเฟิร์ม'' (football firm; คำสแลงในภาษาอังกฤษที่หมายถึงกลุ่มอาชญากร) ก่อตั้งขึ้นมาเพื่อข่มขู่และโจมตีกลุ่มผู้สนับสนุนจากสโมสรฟุตบอลอื่นเป็นการเฉพาะ นอกจากนี้ยังมีคำเรียกขานอื่น ๆ ที่ใช้สื่อถึงฟุตบอลเฟิร์มกันทั่วไป เช่น ''อาร์มี'', ''บอยส์'', ''แคชวลส์'' และ ''ครูว์'' ในขณะที่กลุ่มฟุตบอลฮูลิแกนบางสโมสรมีประวัติความขัดแย้งยาวนานกับสโมสรอื่น (ส่วนมากเป็นสโมสรที่อยู่ใกล้เคียงกันในทางภูมิศาสตร์ แต่ไม่ใช่กับทุกกรณี) ส่งผลให้พฤติกรรมฟุตบอลฮูลิแกนในเกมการแข่งขันระหว่างสโมรสรที่มีความขัดแย้งดังกล่าวมีโอกาสที่จะรุนแรงมากเป็นพิเศษ (ในบางครั้งเรียกว่า ''โลคัลเดอร์บีย์'')
ตามประวัติในอดีต ชาวฟุตบอลฮูลิแกนได้เริ่มขึ้นเป็นครั้งแรกที่ในปลายยุค60 และได้กลายเป็นปัณหาใหญ่ของบ้านเมืองในระหว่างช่วงปลายยุค 70 และกลางยุค 80. ส่วนความหมายที่แน่นอนของ ชาวฟุตบอลฮูลิแกน นั้นยากที่จะชี้ชัด เพราะส่วนใหญ่สื่อนั้นจะไม่ชี้ชัดว่าเหตุการใดคือพวกฮูลิแกนและเหตุการใดที่ไม่ใช่. แต่ในกรณีของชาวฟุตบอลฉูลิแกนนั้นมันคือการรวมกันระหว่าง ฟุตบอล และ การกระทำและพฤติกรรมที่เกี่ยวกับความรุนแรงทางอาญา. คนแหล่านี้มักจะชอบหาเรื่องและชกต่อยกับพวกกลุ่มที่ชอบความก้าวร้าวของทีมฟุตบอลฝ่ายตรงข้ามและทีมอื่นๆรอบข้างและมักจะมีคู่อริในขั้นต่อไป. เหตุผลหลักของการประทะกันนั่นก็คือการที่พวกคนเหล่านั้นจริงจังและคลั่งไคล้กับกีฬาฟุตบอลและทีมโปรดของพวกเขามากเกินควร
 
ความขัดแย้งอาจเกิดขึ้นก่อน ในระหว่าง หรือหลังจบเกมการแข่งขัน ซึ่งกลุ่มฟุตบอลฮูลิแกนมักจะเลือกสถานที่ก่อเหตุให้ห่างจากสนามที่ใช้แข่งขันเพื่อหลีกเลี่ยงการจับกุมของตำรวจ แต่ความขัดแย้งก็อาจจะเกิดขึ้นได้ในสนามแข่งขันหรือถนนและบริเวณโดยรอบสนาม ในกรณีดังกล่าว หน้าต่างของร้านค้าอาจถูกทุบทำลาย ถังขยะอาจถูกวางเพลิง<ref name="Tribune001">{{Cite news| last = Kitsantonis | first = Niki | title = Soccer: Greece wrestles with fan violence| work=International Herald Tribune | date = 19 April 2007 | url = http://www.iht.com/articles/2007/04/19/sports/GREEKS.php | accessdate = 2007-11-24 }}</ref><ref name="novasports.gr" /> และรถตำรวจถูกจับพลิกคว่ำ ส่วนกรณีที่รุนแรงมาก ๆ อาจมีผู้เสียชีวิตจากฝ่ายฮูลิแกน ตำรวจ หรือผู้คนโดยรอบบริเวณ และส่งผลให้ตำรวจปราบจราจลในชุดเกราะเข้าแทรกแซงสถานการณ์ด้วย[[แก๊สน้ำตา]] สุนัขตำรวจ ยานยนต์หุ้มเกราะ และปืนฉีดน้ำแรงดันสูง<ref name="soccerphile001">{{Cite news|last=Podnar |first=Ozren| title=The Day Yugoslav Soccer Died |publisher=Soccerphile |url=http://www.soccerphile.com/soccerphile/news/balkans-soccer/football-war.html |accessdate=2007-07-25}}</ref> เหตุความรุนแรงที่เกิดขึ้นโดยฮูลิแกนเรียกว่า ''อักโกร'' (aggro) ซึ่งมาจากคำว่า ''aggravation'' หรือการทำให้ร้ายแรงขึ้น และ ''บอฟเวอร์'' (bovver) ซึ่งเป็นคำที่ออกเสียงด้วยสำเนียงคอกนีย์ของคำว่า ''bother'' หรือความรำคาญ ส่วนคำว่า ''รัน'' หรือวิ่งคือสัญญาณที่บอกกลุ่มฮูลิแกนว่าให้แยกย้ายหนีไป
ชาวฟุตบอลฮูลิแกนนั้นได้กลายเป็นที่นิยมมากในประเทศอังกฤษ แต่นั้นไม่ได้หมายความว่ามันจะไม่เกิดขึ้นในประเทศอื่นๆ. หลายคนเชื่อว่ามันได้เริ่มขึ้นที่ประเทศอังกฤษ เพราะเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการเหล่านี้มักได้รายงานมาจากอังกฤษมากที่สุดจนเป็นที่มาของคำว่า ‘English Disease’ หรือ บางคนอาจจะเรียกว่าโรคของคนอังกฤษ.
 
กลุ่มฮูลิแกนที่สามารถสละเวลาและเงินของตนได้จะติดตามฟุตบอลทีมชาติไปยังการแข่งขันนอกสถานที่และแสดงพฤติกรรมฮูลิแกนต่อกลุ่มฮูลิแกนของทีมเจ้าบ้านที่ตนไปเยือน นอกจากนี้ยังอาจสร้างความไม่สงบเรียบร้อยในสถานที่สาธาณะอีกด้วย และแม้จะไม่ปรากฎว่ามีกลุ่มฮูลิแกนในระดับทีมชาติเหมือนกับที่มีในระดับสโมสรฟุตบอล แต่กลุ่มฮูลิแกนที่สนับสนุนทีมชาตินั้น ๆ ก็จะใช้ชื่อกลางหรือชื่อรวมเพื่อแสดงออกถึงการเป็นพันธมิตรกับกลุ่มฮูลิแกนของสโมสรฟุตบอลจากชาติเดียวกันแทน
ตัวอย่างแมตช์ฟุตบอลระหว่างทีม Strasbourg และ Metz ในฟุตบอลดิวิชั่นหนึ่งของฝรั่งเศสเป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของเหตุการปะทะระหว่างชาวฟุตบอลฮูลิแกนทั้งสองทีม. มีการขว้างปาดอกไม้ไฟเข้าหากัน และลงในสนามฟุตบอลจนสุดท้ายต้องระงับการแข่งขัน เนื่องจากกรรมการสนามนั้นโดนดอกไม้ไฟเขวี้ยงใส่จนไม่สามารถตัดสินต่อได้.
 
== พฤติกรรม ==
คล้ายกันใน อิตาลี เมื่อกลุ่มชาวฟุตบอลฮูลิแกนที่มีชื่อเรียกว่า "อุนตร้า" ได้ปะทะกับฝ่ายคู่อริ และ ตำรวจ ขณะที่มีการเขวี้ยง Molotov ค็อกเทล ใส่โค้ชทีม Internazionale โดยแฟนบอลของฝั่งตัวเองหลังจากปราชัย ให้กับทีมของปาร์มา ถึง 6-1.
นอกจากนี้ ในบราซิลได้เกิดการหยุดแข่งขันของแมตช์ Championship 2000 หลังจากแฟนบอล 60 คน ได้รับบาดเจ็บในการปะทะที่รุนแรง และจุดเริ่มของเหตุการนี้นั้นเกิดจากแฟนบอลสองคนซึ่งเชียร์ทีมเดียวกัน โต้เถียงเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนผู้เล่นระหว่างเกมเพียงเท่านั้น.
 
พฤติกรรมฟุตบอลฮูลิแกนมีขอบข่ายที่ค่อนข้างกว้าง ดังนี้
หลายครั้งที่เกิดเหตุการปะทะของชาวฟุตบอลฮูลิแกนเหล่านี้ได้มีอิทธิพลมาจากสุรา และ ของมึนเมา บวกกับบรรยากาศที่มีผู้คนล้อมรอบจำนวนมาก. นอกจากนั้นก็มีเหตุผลอื่น เช่น การพนันฟุตบอล ซึ่งทุกคนที่แพ้พนันนั้นก็จะไม่พอใจกับทั้งผลงาน และ เงินที่วางลงไป ซึ่งนี่เป็นจุดเริ่มของการเบี้ยวพนัน และ ต้องจบด้วยการทะเลาะชกต่อย หรือบางครั้งอาจมีการเข่นฆ่ากันเลยที่เดียว.
*การสบประมาท เช่น การพูดล้อเลียน ปรามาส บางครั้งก็พูดจาส่อเสียดลามก
*การถ่มน้ำลาย
*การจุดไฟ
*การขว้างปาสิ่งของลงไปยังสนามเพื่อทำร้ายผู้เล่นหรือเจ้าหน้าที่ หรือเพื่อแสดงออกถึงการดูถูก เช่น การปากล้วยใส่ผู้เล่นผิวสี ซึ่งใช้สื่อถึงการดูถูกเหยียดหยามว่าคนผิวสีเป็นเผ่าพันธุ์ลิง
*การขว้างปาสิ่งของใส่ผู้สนับสนุนสโมสรฝ่ายตรงข้าม เช่น การปาหิน อิฐ คบเพลิง และ[[ระเบิดขวด]]<ref name="Tribune001"/><ref name = novasports.gr>{{cite web|url=http://www.novasports.gr/default.asp |title=novasports.gr |publisher=novasports.gr |date= |accessdate=2010-03-24}}</ref>
*การต่อสู้ด้วยอาวุธ เช่น ไม้เบสบอล ขวดแก้ว หิน [[เหล็กเส้น]] มีด พร้า และ[[อาวุธปืน]]<ref>{{cite web|url=http://www.dwworld.de/dw/article/0,2144,1701053,00.html |title=German Hooligans Make Mark in Bratislava &#124; World Cup 2006 &#124; Deutsche Welle &#124; 05.09.2005 |publisher=Dwworld.de |date= |accessdate=2010-03-24}}</ref>
*การสร้างความไม่สงบกันเป็นกลุ่มก้อน เช่น การผลัก ซึ่งอาจทำให้บางส่วนของสนามแข่งขันเช่นรั้วหรือกำแพงพังถล่มลงมา และยังมีผลกระทบที่เหมือนกันคือผู้ชมในสนามคนอื่น ๆ (ที่ไม่ได้ก่อเหตุ) ต่างพยายามหนีหรือเบียดเสียดกันออกจากสถานที่เกิดเหตุ<ref>{{Cite news|url=http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/americas/1094303.stm |title=Fence collapse hits soccer final |publisher=BBC News |date=30 December 2000 |accessdate=2010-03-24}}</ref>
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{โครงกีฬา}}
มันไม่ใช่เรื่องที่แปลกเลยเมื่อผู้คนกลุ่มใหญ่ได้รวมตัวกัน บวกกับการอยู่ภายใต้อิทธิพลของแอลกอฮอล์ ซึ่งจะทำให้คนเปล่านั้นมีศักยภาพที่ควบคุมไม่ได้ ต้องลงไม้ลงมือก่อเรื่องปะทะกันขึ้นมา และแน่นอน ฟุตบอล เป็นกีฬาที่นิยมมาก จึงมีแฟนบอลนับพันคนในแต่ละแมตช์ หรือบางครั้งตัวเลขอาจขึ้นไปถึงหมื่นเลยทีเดียว. บางคนอาจไม่ได้บ้าพนัน หรือชอบดื่มสุรา แต่เมื่อไปดูฟุตบอลสดข้างสนามก็ย่อมมีสิทธิที่จะโดนลูกหลงไปตามกัน.
 
ฮูลิแกนนั้นมักจะไม่ค่อยมีในกีฬาประเภทอื่นๆ. พวกเราไม่เคยได้ยินข่าวเกี่ยวกับฮูลิแกนบาสเกตบอลหรือ ฮูลิแกนอเมริกันฟุตบอล ฯลฯ แต่นี้ก็ไม่ได้หมายความว่ามันจะไม่มีผู้คนหัวรุนแรงในกีฬาประเภทอื่น. การประโคมข่าวจากสื่อต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ ทีวี วิทยุ ฯลฯ นั้นมักจะทำให้ข่าวดูน่าสนใจเพื่อเพิ่มการขายและคนดูและผู้ฟัง. ซึ่งพวกเขามักจะรายงานข่าวที่เกินความเป็นจริงไปมาก และทำให้พวกเราคิดว่าการไปดูฟุตบอลข้างสนามนั้นเป็นอะไรที่น่ากลัวและไร้ความปลอดภัย เพราะฉะนั้นการที่ผู้คนสมัยก่อนเจอข่าวเกี่ยวกับชาวฟุตบอลฮูลิแกนปะทะกัน ก็มักจะคิดไปไกลจนบางครั้งริมสนามนั้นก็จะโล่ง และไร้คนดูในบางแมตช์การแข่งขันเลยทีเดียว
 
อีกเรื่องที่ผู้คนสมัยก่อนนั้นมักจะกังวลก็คงจะเป็นเรื่องของการเปลี่ยนแปลงจากผู้ชมกีฬีฟุตบอลธรรมดากลายมาเป็นชาวฮูลิแกน หรือ พวกบ้าบอล แค่เพียงการไปนั่งดูบอลข้างสนามไม่กี่ครั้ง. ผู้ใหญ่หลายคนกล่าวว่าการที่ให้อนุญาตลูกๆหรือหลานๆของพวกเขาไปนั่งชมฟุตบอลริมสนามนั้นก็เปรียบสเมือนปล่อยเด็กเข้าไปในโลกที่มีคนหลายรูปแบบอยู่และที่สำคัญท่าไปเจอกับชาวฟุตบอลฮูลิแกนเข้าก็อาจจะโดนพวกนั้นชวนเข้ากลุ่มหรืออาจจะซวยโดนหาเรื่องและลูกหลงที่ตามมา. พวกผู้ใหญ่กล่าวต่อว่าการกระทำของชาวฟุตบอลฮูลิแกนนั้นมันเปลี่ยนความคิดจากการชมดูฟุตบอลเพื่อเอนเตอร์เทนเม้นเป็นการดูที่มีการใช้อารมของคนดูเข้าร่วมและการรวมตัวสร้างบรรยากาศที่คึกคักเสียงดังบวกกับสุราซึ่งจบด้วยการมีเรื่องกันเกือบทุกครั้ง
 
[[หมวดหมู่:ฟุตบอล]]