ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศมอริเตเนีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 55:
 
== ประวัติศาสตร์ ==
ประวัติศาสตร์มอริเตเนียเริ่มต้นตั้งแต่[[คริสต์ศตวรรษที่ 3]] โดยมีอาณาจักรที่มีชื่อว่า[[ราชอาณาจักรมอเรเตเนีย]]ของ[[ชาวเบอร์เบอร์]] (Berber) ในยุคเก่า<ref>Newton, Alex, ''History of West Africa'' (1988)</ref>เดิมเป็นที่อาศัยของ Bafours และถูกขับออกมาโดยชนเผ่าเบอร์เบอร์ของทวีปแอฟริกาในช่วงศตวรรษที่ 3 ชาวอาหรับได้ตามเข้ามาในศตวรรษที่ 8 และช่วงปลายศตวรรษที่ 11 Moorish พระนักรบอิสลามสามารถเอาชนะอาณาจักรกานาเพื่อครอบครองประเทศ สิ่งที่ตามมาคือการเกิดสงคราม Mauritanian ที่ยาวนานกว่าสามสิบปีและความพยายามสุดท้ายของเบอร์เบอร์เพื่อขับไล่ชาวอาหรับเยเมนก็ไม่ประสบความสำเร็จ
 
ในปลายศตวรรษที่ 19 จักรพรรดิฝรั่งเศสเริ่มออกมาล่าอาณานิคมและประเทศก็ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของแอฟริกาตะวันตกของฝรั่งเศสในปี 1920 มอริเตเนียได้รับเอกราชในปี 1960 และเมืองหลวง “นูแอกชอต” ได้ก่อตั้งขึ้นในเวลาต่อมา
=== ยุคก่อนอาณานิคม ===
 
เส้น 75 ⟶ 73:
== ภูมิศาสตร์ ==
{{โครงส่วน}}
มอริเตเนียจะพบกับ ความร้อนและแห้ง เหมือนกับทะเลทราย ภาคใต้ของประเทศจะมีฝนตกมากกว่าภูมิภาคอื่น ๆ มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยประมาณ 500 มิลลิเมตร ต่อปี ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงตุลาคม ทางตอนเหนือสองในสามของประเทศจะพบได้ว่า มีปริมาณน้ำฝนน้อยมาก ซึ่งมีอยู่เพียบ 100 มม. ต่อปี โดยอุณหภูมิในเวลากลางวันนั้นอาจจะสูงถึง 38 องศาเซลเซียล และอาจเย็นลงในช่วงเวลากลางคืน
 
== เศรษฐกิจ ==
{{โครงส่วน}}
GDP 4.28 พันล้าน USD
 
GDP per Capita 1,126.7 USD
 
Real GDP Growth 6.8 % สกุลเงิน อูกียา (1 บาท = 8.86 MRO)
 
อัตราเงินเฟ้อ 3.2 %
 
อุตสาหกรรมหลัก การแปรรูปปลา การผลิตน้ำมัน การทำเหมืองแร่เหล็ก ทองคำ ทองแดง และยิปซั่ม
 
สินค้านำเข้าที่สำคัญ เครื่องจักรและอุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม สินค้าที่ใช้เป็นทุน อาหาร และสินค้าอุปโภคบริโภค
 
สินค้าส่งออกที่สำคัญ แร่เหล็ก ปลาและผลิตภัณฑ์จากปลา ทองคำ ทองแดง และน้ำมัน
 
ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ฝรั่งเศส จีน เนเธอร์แลนด์ สเปน เบลเยียม และสหรัฐอเมริกา
 
ตลาดส่งออกที่สำคัญ จีน ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี เนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม
 
== ประชากร ==
{{โครงส่วน}}
=== ระบบสาธารณสุข ===
3.8 ล้านคน
==ภาษาราชการ==
อารบิก ฝรั่งเศส ภาษาพูลาร์ (Pulaar) โซนินเก้ (Soninke) และโวลอฟ
 
==ศาสนา==
อิสลาม (สุหนี่) 100%
 
==วันชาติ==
28 พฤศจิกายน
 
==วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย==
24 สิงหาคม 2519 (ค.ศ. 1976)
 
ประธานาธิบดี นายโมฮาเหม็ด อูล อับเดลอาซิซ (Mohamed Ould Abdel Aziz)
 
นายกรัฐมนตรี Sir Anerood Jugnauth
 
รมว.กต. Etienne Sinatambou
 
==ระบบกฎหมาย==
{{โครงส่วน}}
== วัฒนธรรม ==
เป็นกฎหมายที่ผสมผสานกันระหว่างกฎหมายอิสลามและประมวลกฎหมายฝรั่งเศส
 
มอริเตเนียมีพรรคการเมืองกว่า 15 พรรค ที่สำคัญคือDemocratic and Social Republic Party-DSRPซึ่งเป็นพรรครัฐบาล มอริเตเนียได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 1960 โดยมีนาย Moktar Ould Daddah หัวหน้าพรรค Parti du regroupment mauritanien (PRM) เป็นประธานาธิบดีและปกครองประเทศโดยระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว ในช่วงต้นทศวรรษ 1970 รัฐบาลของนาย Ould Daddah พยายามสร้างความเข้มแข็งในการพึ่งพาตนเองให้แก่ประเทศทั้งในด้านการเมืองและเศรษฐกิจ โดยการปรับปรุงระบบการเงิน และตั้งสกุลเงิน Ouguiya ของตนเอง และในปี 1974 โอนกิจการเหมืองเหล็ก ซึ่งมีมูลค่าการส่งออกร้อยละ 80 ให้เป็นกิจการของรัฐ
 
==วัฒนธรรม==
{{โครงส่วน}}
=== การศึกษา ===
มอริเตเนียอ​​ุดมไปด้วยศิลปะหิน, โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนทิศตะวันออกเฉียงใต้เช่น Guilemsi ที่เกิดขึ้นบนสันเขาหินทรายในตำบลทากันท์. ภาพวาดที่พบในที่พักผนังและบนฝั่งสกัดของแม่น้ำแห้ง. ภาพรวมอูฐ, ขี่ม้า, ปศุสัตว์, สัตว์ป่าและออกแบบรูปทรงเรขาคณิตที่เป็นของไม่กี่ที่สี่และคนที่สามนับพันปี. ภาพที่ผ่านมามากขึ้นรวมถึงตัวเลขของมนุษย์ในการขี่ม้าสีแดงหรือวัวกับบางที่ถืออาวุธ. การออกแบบแผนผังใช้สีแดง, สีขาวหรือสีดำสี. ประทับตราและสัตว์ที่เป็นตำนาน ภาพที่มีความสำคัญก็คือของลอูเอ็ด Jrid (Jrid วดี) ในภาคใต้ที่ประกอบด้วยหุบเขาสูงชันเข้าข้างหินและที่พักอาศัยหิน นิ้ววาดฉากติดตั้งและเดินเท้าม้าเป็นแถวอยู่ร่วมกัน. Grotte des Écrituresคุณสมบัติเลี้ยงสัตว์ในขณะที่มีก้อนหิน M'treoka รอยบากที่มีการแกะสลัก. ศิลปะหินครอบคลุมเวลาตั้งแต่สมัย 7,000 – 2,500 BC กับระยะเวลาอูฐ: เกี่ยวกับ 100 ก่อนคริสต์ศักราช.
==การศึกษา==
{{โครงส่วน}}
==ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐอิสลามมอริเตเนีย==
มอริเตเนียกับไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๑๙ (ค.ศ. ๑๙๗๖) โดยฝ่ายมอริเตเนียมอบหมายให้สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปักกิ่งมีเขตอาณาครอบคลุมประเทศไทย และฝ่ายไทยมอบหมายให้ สอท.ณ กรุงราบาตมีเขตอาณาครอบคลุมมอริเตเนีย ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสองอยู่ในระดับปกติ....การค้าต่อกันมีน้อยมาก...
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}