ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวนอิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
| attributes = มหากรุณา
}}
'''กวนอิม''' ตามสำเนียงฮกเกี้ยน หรือ '''กวนอิน'''(บ้างเรียกว่า กวานยิน) ตามสำเนียงกลาง ({{zh-all|t=觀音|s=观音|p=Guān Yīn}}) เป็น[[พระโพธิสัตว์]]ฝ่ายใน[[พุทธศาสนา]]นิกาย[[มหายาน]] เป็นองค์เดียวกันกับ[[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์]]ใน[[ภาษาสันสกฤต]] ซึ่งมีต้นกำเนิดจากพระสูตรมหายานใน[[อินเดีย]] และได้ผสมผสานกับตำนานเรื่อง'''เจ้าหญิงเมี่ยวซ่าน''' ของ[[ศาสนาพื้นบ้านจีน]]จนก่อให้เกิดเป็นพระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคสตรีขึ้น เพื่อแสดงออกถึงความอ่อนโยน และแสดงถึงความเมตตากรุณาให้เด่นชัดยิ่งขึ้นดังเช่นความรักของมารดาที่มีต่อบุตร ซึ่งเป็นการผสมผสานกลมกลืนทางความเชื่อที่ปราศจากข้อขัดแย้ง เนื่องจากใน[[สัทธรรมปุณฑรีกสูตร]]ได้อธิบายว่า พระอวโลกิเตศวรนั้นสามารถแบ่งภาคเพื่อโปรดสรรพสัตว์ได้มากมายทั้งปางบุรุษและสตรี และเป็นธรรมดาของพระโพธิสัตว์มหายานที่เมื่อเข้าไปสู่ดินแดนอื่นทั้ง[[ทิเบต]] [[จีน]] หรือ[[ญี่ปุ่น]] ย่อมผสมผสานกลมกลืนได้กับเทพท้องถิ่นนั้น ๆ อย่างในกรณีพระอวโลกิเตศวรนี้ '''Sir Charles Eliot''' ได้ตั้งข้อสังเกตว่า "คงเนื่องมาจากความสับสนทางความคิดของชาวจีนในยุคนั้น ซึ่งบูชาเทพเจ้าต่าง ๆ ของตนอยู่แล้ว และเมี่ยวซ่านก็เป็นเทพวีรชนดั้งเดิมอยู่ก่อน พออารยธรรมพระโพธิสัตว์จากอินเดียแผ่เข้าไปถึง ได้เกิดการผสานทางวัฒนธรรมเปลี่ยนชื่อเสียงคงไว้เพียงแต่คุณลักษณะต่าง ๆ พอให้แยกออกว่าเป็นพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์"
 
== [[พระโพธิสัตว์]]กวนอิมในตำนานฝ่ายจีน ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กวนอิม"