ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Stefan4 (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 76:
== สมัยผู้สำเร็จราชการแทน (ค.ศ. 1811 ถึง ค.ศ. 1837) ==
{{main|สมัยผู้สำเร็จราชการแทนในอังกฤษ}}
อาการทางพระสติของพระเจ้าจอร์จย่ำแย่มากใน[[ค.ศ. 1811]] จนรัฐสภาออก[[พระราชบัญญัติผู้สำเร็จราชการแทน]] (Act of Regency) ให้เจ้าชายแห่งเวลส์ (Prince of Wales) พระโอรสเป็นผู้สำเร็จราชการแทน เจ้าชายแห่งเวลส์ทรงทรงเสนอนโยบายผ่อนปรนพวกคาทอลิก ซึ่งพวก[[โทรี]] (Tories) และนายกรัฐมนตรี[[สเปนเซอร์ เพอร์ซิวาลเพอร์ชีวัล|เพอร์ซิวาลเพอร์ชีวัล]] (Spencer Perceval) ต่อต้านอยู่แล้ว เจ้าชายทรงพยายามจะหันหาพวก[[วิก]] (Whigs) ซึ่งตอนนี้ไร้ซึ่งอำนาจ แต่[[ค.ศ. 1812]] เพอร์ซิวาลเพอร์ชีวัลถูกลอบสังหาร นายกฯคนใหม่คือ[[ลอร์ดรอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล|เอิร์ลแห่งลิเวอร์พูล]] (Lord Liverpool) นำสหราชอาณาจักรได้ชัยชนะในการทำสงครามกับนโปเลียน ใน[[ค.ศ. 1814]] [[คองเกรสการประชุมใหญ่แห่งเวียนนา]] (Congress of Vienna) ได้เลื่อนพระยศพระเจ้าจอร์จจากอิเล็กเตอร์แห่งฮาโนเวอร์ เป็นกษัตริย์แห่งฮาโนเวอร์ (King of Hannover) ซึ่งพระเจ้าจอร์จก็ทรงไม่อาจจะรับรู้อะไรได้แล้ว
 
[[สหรัฐอเมริกา]]แม้จะเป็นเอกราชไปแล้วแต่ก็ค้าขายกับฝรั่งเศสทำให้นโปเลียนมีรายได้ รวมทั้งยังรุกรานแคนาดาของสหราชอาณาจักรอีกด้วย จึงเกิด[[สงครามค.ศ. 1812]] (War of 1812) แต่ก็สิ้นสุดลงใน[[ค.ศ. 1815]] และปีเดียวกันนโปเลียนก็กลับมาแต่ก็พ่ายแพ้[[ดยุคดยุกแห่งเวลลิงตัน]] (Duke of Wellington) ที่ในสมรภูมิวอเตอร์ลู (Waterloo)
 
สมัยผู้สำเร็จราชการแทน หรือ สมัยรีเจนซี (Regency) เป็นสมัยที่อังกฤษใช้ชีวิตอย่างหรูหราฟุ่มเฟือย มีรูปแบบเป็นของตน เจ้าชายแห่งเวลส์ทรงให้จอห์น แนช (John Nash) สร้าง Regent's Park และ Regency Street รวมทั้ง Brighton Pavilion โดยผสมผสานสถาปัตยกรรมอินเดียจากทัชมาฮาล และของจีน เรียกว่า Indian Gothic
บรรทัด 90:
แม้ในตอนแรกพระเจ้าจอร์จจะทรงสนับสนุนการผ่อนปรนพวกคาทอลิก แต่หลังจากขึ้นครองราชย์แล้วก็มีพระดำริกลับกัน คือทรงต่อต้านพวกคาทอลิก เพราะตามคำปฏิญาณในพิธีราชาภิเษกทรงสัญญาว่าจะรักษานิกายโปรเตสแตนต์ รวมทั้งลอร์ดลิเวอร์พูลที่ต่อต้านคาทอลิกอย่างแรก ทำให้นโยบายนี้ดูจะเป็นไปไม่ได้
 
แต่ใน[[ค.ศ. 1827]] ลอร์ดลิเวอร์พูลลาออก [[จอร์จ แคนนิง]] (George Canning) พวกโทรีที่สนับสนุนคาทอลิก ได้เป็นนายกฯและพลักดันนโยบายนี้อีกครั้ง ทำให้พวกโทรีคนอื่นๆโดยเฉพาะดยุคดยุกแห่งเวลลิงตันไม่พอใจ จึงหันไปเข้าพวกวิก แต่แคนนิงก็เสียชีวิตปีเดียวกัน [[วิสเคานท์โกเดอริค]] (Viscount Goderich)|ไวเคานต์ก๊อดริช]] ใน[[ค.ศ. 1828]] ดยุคดยุกแห่งเวลลิงตันได้เป็นนายกรัฐมนตรี และเริ่มมีความคิดหันไปสนับสนุนคาทอลิก พระเจ้าจอร์จก็เช่นกัน จนทั้งสองคนออก[[พระราชบัญญัติผ่อนปรนคาทอลิก]] (Catholic Relief Act) ปลดปล่อยชาวคาทอลิกที่ถูกลิดรอนสิทธิต่างๆมานาน 300 กว่าปี
 
=== พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 ===
{{main|วิกฤตการปฏิรูป}}
พระเจ้าจอร์จที่ 4 สิ้นพระชนม์ใน[[ค.ศ. 1830]] โดยทรงไม่มีทายาทในสมรส (ทรงมีโอรสนอกสมรส) พระอนุชาดยุคดยุกแห่งคลาเรนซ์ (Duke of Clarence) พระชนมายุ 64 พรรษา จึงขึ้นครองราชย์เป็น[[พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าวิลเลียมที่ 4]] ผิดกับพระเชษฐา พระเจ้าวิลเลียมทรงมัธยัสถ์ ไม่หรูหราฟุ่มเฟือย และยังทรงเป็นทหารเรืออีกด้วย จึงได้รับพระสมยานามว่า กษัตริย์กะลาสี (The Sailor King) การเลือกตั้งปรากฏพวกวิกที่หายไปนานก็กลับเข้าสู่รัฐสภา มีนายกรัฐมนตรี[[เอิร์ล
ชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2|เอิร์ลเกรย์]] (Earl Grey) เป็นผู้นำ เกรย์วางแผนที่จะปฏิรูประบอบการปกครองของอังกฤษที่ล้าหลังและไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลยหลายร้อยปี จึงเสนอร่างพระราชบัญญัติปฏิรูป (Reform Bill) ซึ่งก็ถูกค้านโดย[[สภาสามัญชน]] เอิร์ลเกรย์จึงจะยุบสภาสามัญ และเลือกตั้งใหม่ใน[[ค.ศ. 1831]] จนได้พวกปฏิรูปเข้าสภามามาก แต่[[สภาขุนนาง]]ก็ยังคงต่อต้านร่างพระราชบัญญัติอยู่ดี
 
เกรย์เสนอร่างพระราชบัญญัติปฏิรูปอีกครั้ง แต่ก็ตกไปด้วยการออกเสียงของสภาขุนนาง คราวนี้ประชาชนลุกฮือเรียกร้องให้ออกพระราชกฤษฎีกา เรียกว่า '''วิกฤตการปฏิรูป''' (Reform Crisis) เกรย์เสนอให้พระเจ้าวิลเลียมพระราชทานบรรดาศักดิ์ให้แก่พวกที่สนับสนุนการปฏิรูปเพื่อจะให้ไปออกเสียงในสภาขุนนาง แต่พระเจ้าวิลเลียมทรงปฏิเสธเพราะบรรดาศักดิ์จะพระราชทานให้ใครพร่ำเพร่อมิได้ ทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงเป็นที่ตำหนิของประชาชน ทรงถึงขนาดถูกปาโคลนใส่ จนทรงยอมเอิร์ล เกรย์และแต่งตั้งขุนนางใหม่จนไปออกเสียงสนับสนุน[[พระราชบัญญัติปฏิรูป]] (Reform Act) จนสำเร็จใน[[ค.ศ. 1821]]
 
== สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ==