ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรฮันจา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: io:Hanja
Unknown 00011 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมแหล่งศึกษาค้นคว้าที่น่าสนใจ
บรรทัด 7:
ตัวอักษรจีนได้แพร่เข้าสู่อาณาจักรเกาหลีผ่าน[[พระพุทธศาสนา]] และชาวเกาหลีได้ปรับใช้ให้เข้ากับไวยากรณ์ภาษาเกาหลี และต่อมาได้แพร่สู่[[ญี่ปุ่น]] อย่างไรก็ตาม ตำราที่นำตัวอักษรฮันจาเผยแพร่สู่เกาหลีมิได้เป็นวรรณกรรมทางศาสนา ตำรานั้นมีชื่อว่า "อักษรพันตัว" ([[ภาษาจีน|จีน]]: 千字文, [[อักษรฮันกึล|ฮันกึล]]: 천자문 Cheonjamun, [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Thousand Character Classic) อักษรฮันจาได้ใช้ในการเขียนภาษาเกาหลีตลอดมา จนกระทั่ง[[พระเจ้าเซจง]] ได้ทรงประดิษฐ์ตัว[[อักษรฮันกึล]]ขึ้นระหวางปี [[ค.ศ. 1444]] - [[ค.ศ. 1446|1446]] อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการเผยแพร่อักษรฮันกึลแล้ว บัณฑิตเกาหลีจำนวนมากก็ยังคงใช้ตัวอักษรฮันจา
จนกระทั่ง[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] อักษร[[ฮันกึล]]ได้แทนอักษรฮันจาโดยสมบูรณ์ ใน[[เกาหลีเหนือ]] ได้ยกเลิกการใช้อักษรฮันจาตั้งแต่[[มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1949]] (โดยให้เขียนอักษรแนวนอนจากที่แต่เดิมเขียนแนวตั้ง) เนื่องจาก [[คิมอิลซุง]] ได้กล่าวว่าตัวอักษรฮันจาเป็นสัญลักษณ์ของวัฒนธรรม[[ญี่ปุ่น]] นอกจากนี้ หลายคำที่ยืมจากภาษาจีนได้ถูกแทนที่โดยคำเกาหลีดั้งเดิม
 
==แหล่งศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมที่หน้าสนใจ==
 
KOREAN CHARACTERS(a Mini-Dictionary of Characters for Modern Readers)
 
by BRUCE K. GRANT
 
ISBN 0-930878-13-2
 
{{โครงภาษา}}