ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
{{tl|บทความหลัก}}
บรรทัด 13:
 
ใน [[วิศวกรรมไฟฟ้า]] คำว่าไฟฟ้าหมายถึง:
* * '''[[กำลังไฟฟ้า]]''' ({{lang-en|electric power}}) เมื่อกระแสไฟฟ้าถูกใชัเพื่อให้กำลังงานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า กำลังไฟฟ้าเป็นอัตราที่พลังงานไฟฟ้าที่ถูกถ่ายโอนไปยังวงจรไฟฟ้า มีหน่วย SI เป็นวัตต์ซึ่งเท่ากับหนึ่งจูลต่อวินาที
* '''[[อิเล็กทรอนิกส์]]''' เกี่ยวข้องกับ[[วงจรไฟฟ้า]]ที่ใช้ชิ้นส่วนที่[[สภาพพาสซีฟ|แอคทีฟ]]เช่นหลอดสูญญากาศ, ทรานซิสเตอร์, ไดโอดและวงจรรวม และเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่ใช้ในการเชื่อมต่อถึงกันแบบ[[สภาพพาสซีฟ|พาสซีฟ]]ที่เกี่ยวข้อง
* '''[[วิศวกรรมกำลังไฟฟ้า]]''' (อังกฤษ: Power engineering) หรือที่เรียกว่า วิศวกรรมระบบไฟฟ้า เป็นสาขาย่อยของ[[วิศวกรรมพลังงาน]]และ[[วิศวกรรมไฟฟ้า]]ที่เกี่ยวข้องกับ[[การผลิตไฟฟ้า]], [[การส่งกำลังไฟฟ้า]], [[การกระจายกำลังไฟฟ้า]], [[การใช้ให้เป็นประโยชน์]] (อังกฤษ: utilization) และอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เชื่อมต่อกับระบบดังกล่าว
บรรทัด 32:
[[ไฟล์:Thales.jpg|thumb|150px|right|[[เธลีส|เธลีสแห่งมิเลทัส]] ชายที่มีหนวดและผมยุ่ง เขาเป็นนักค้นคว้าทางด้านไฟฟ้าที่รู้กันว่าเป็นคนเก่าแก่ที่สุด]]
 
{{บทความหลัก: |ประวัติของทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า, |ประวัติของวิศวกรรมไฟฟ้า}}
นานก่อนที่จะมีความรู้ใด ๆ ด้านไฟฟ้า ผู้คนได้ตระหนักถึงการกระตุกของ[[ปลาไฟฟ้า]] ในสมัย[[อียิปต์โบราณ]]พบข้อความที่จารึกในช่วงประมาณ 2750 ปีก่อนคริสตศักราช ได้พูดถึงปลาเหล่านี้ว่าเป็น "สายฟ้าแห่ง[[แม่น้ำไนล์]]" และพรรณนาว่าพวกมันเป็น "ผู้พิทักษ์" ของปลาอื่น ๆ ทั้งมวล ปลาไฟฟ้ายังถูกบันทึกอีกครั้งในช่วงพันปีต่อมาโดย[[กรีกโบราณ]], [[อาณาจักรโรม|ชาวโรมัน]]และ[[ภูมิภาคทศาสนาอิสลาม|นักธรรมชาติวิทยาชาวอาหรับ]]และ[[การแพทย์อิสลาม|แพทย์มุสลิม]]<ref>{{citation|title=Review: Electric Fish|first=Peter|last=Moller|journal=BioScience|volume=41|issue=11|date=December 1991|pages=794–6 [794]|doi=10.2307/1311732|jstor=1311732|publisher=American Institute of Biological Sciences|last2=Kramer|first2=Bernd}}</ref> นักเขียนโบราณหลายคน เช่น [[Pliny the Elder]] และ [[Scribonius Largus]] ได้พิสูจน์ให้เห็นถึงอาการชาจาก[[ไฟฟ้าช็อค]]ที่เกิดจาก[[ปลาดุกไฟฟ้า]]และ[[ปลากระเบนไฟฟ้า]] และยังรู้อีกว่าการช็อคเช่นนั้น สามารถเดินทางไปตามวัตถุที่นำไฟฟ้า<ref name=Electroreception>
บรรทัด 151:
 
=== ประจุไฟฟ้า ===
{{บทความหลัก: |ประจุไฟฟ้า}}
 
ดูเพิ่มเติม: [[อิเล็กตรอน]], [[โปรตอน]], [[ไอออน]]
บรรทัด 236:
 
=== กระแสไฟฟ้า ===
{{บทความหลัก: [[|กระแสไฟฟ้า]]}}
 
การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าเราเรียกว่า[[กระแสไฟฟ้า]] ความเข้มของมันเราวัดได้ในหน่วย[[แอมแปร์]] กระแสไฟฟ้าสามารถประกอบด้วยการเคลื่อนที่ของอนุภาคใด ๆ ที่มีประจุ โดยทั่วไปส่วนใหญ่อนุภาคเหล่านี้จะเป็นอิเล็กตรอน แต่ประจุใด ๆ ที่กำลังเคลื่อนที่ทำให้เกิดกระแส
บรรทัด 280:
 
=== สนามไฟฟ้า ===
{{บทความหลัก: [[|สนามไฟฟ้า]]}}
 
ดูเพิ่มเติม: [[ไฟฟ้าสถิต]]
บรรทัด 325:
=== ศักย์ไฟฟ้า ===
 
{{บทความหลัก: [[|ศักย์ไฟฟ้า]]}}
 
ดูเพิ่มเติม: [[แรงดันไฟฟ้า]]และ[[แบตเตอรี่]]
บรรทัด 363:
 
=== แม่เหล็กไฟฟ้า ===
{{บทความหลัก: |แม่เหล็กไฟฟ้า}}
 
[[File:Electromagnetism.svg|thumb|left|เส้นลวดที่นำกระแสไปในทิศทางด้านล่าง ก่อให้เกิดสนามแม่เหล็กรอบเส้นลวดโดยมีเส้นแรงทวนเข็มนาฬิกาตาม[[กฎมือขวา]] (เมื่อกำมือขวาแล้วชี้ห้วแม่มือขึ้น ถ้ากระแสไหลในทิศทางของหัวแม่มือ เส้นแรงแม่เหล็กจะมีทิศทางตามนิ้วที่เหลือทั้งสี่)]]
บรรทัด 399:
[[File:Volta-and-napoleon.PNG|thumb|right|[[นักฟิสิกซ์]]ชาวอิตาลี [[อาเลสซานโดร โวลตา]]กำลังแสดง ''"[[แบตเตอรี]]"'' ของเขาต่อพระพักตร์ของจักรพรรดิ์ฝรั่งศส [[นโปเลียน โบนาปาร์ต]] ในช่วงต้นศตวรรษที่ 19]]
 
{{บทความหลัก: [[|ไฟฟ้าเคมี]]}}
 
ความสามารถของปฏิกิริยาทางเคมีในการผลิตไฟฟ้า และความสามารถในทางตรงกันข้ามของไฟฟ้าในการผลักดันให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีมีการใช้งานที่หลากหลาย
บรรทัด 406:
 
=== วงจรไฟฟ้า ===
{{บทความหลัก: [[|วงจรไฟฟ้า]]}}
[[File:Ohms law voltage source.svg|thumb|[[วงจรไฟฟ้า]]พื้นฐาน [[แหล่งจ่ายไฟ]] ''V'' ด้านซ้ายขับเคลื่อน[[กระแสไฟฟ้า|กระแส]] ''I'' ไปรอบวงจร นำส่ง[[พลังงานไฟฟ้า]]ให้กับ[[ตัวต้านทาน]] ''R'' จากตัวต้านทาน กระแสจะไหลกลับไปที่แหล่งจ่าย เป็นการครบวงจร]]
 
บรรทัด 420:
 
=== กำลังไฟฟ้​​า ===
{{บทความหลัก: [[|พลังงานไฟฟ้า]]}}
 
กำลังไฟฟ้าเป็นอัตราการถ่ายโอนพลังงานไฟฟ้าไปให้[[วงจรไฟฟ้า]] มีหน่วย SI เป็นวัตต์ หรือหนึ่งจูลต่อวินาที
บรรทัด 431:
 
=== อิเล็กทรอนิกส์ ===
{{บทความหลัก: [[|อิเล็กทรอนิกส์]]}}
 
[[File:Arduino ftdi chip-1.jpg|thumb|ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์แบบวางบนผิว]]
บรรทัด 439:
 
=== คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ===
{{บทความหลัก: [[|คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]}}
 
งานของฟาราเดย์และแอมแปร์แสดงให้เห็นว่าสนามแม่เหล็กที่แปรตามเวลาจะทำหน้าที่เป็นแหล่งที่มาของสนามไฟฟ้า และสนามไฟฟ้าที่แปรตามเวลาก็เป็นแหล่งที่มาของสนามแม่เหล็ก ดังนั้นเมื่อทั้งสองใดสนามหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลง อีกสนามหนึ่งก็จำเป็นที่จะถูกเหนี่ยวนำขึ้น<ref name=uniphysics/>{{rp|696–700}} ปรากฏการณ์เช่นนี้จะมีคุณสมบัติของคลื่น และจะถูกเรียกโดยธรรมชาติว่าเป็น[[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]] คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าถูกนำมาวิเคราะห์ในทางทฤษฎีโดย[[เจมส์ เคิร์ก แมกส์เวลล์]] ในปี 1864 แมกซ์เวลล์ได้พัฒนาชุดของสมการที่อาจอธิบายอย่างกำกวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างกันของสนามไฟฟ้า, สนามแม่เหล็ก, ประจุไฟฟ้า, และกระแสไฟฟ้า นอกจากนี้เขาสามารถพิสูจน์ได้ว่าคลื่นเช่นนั้นจำเป็นที่จะเดินทางด้วย[[ความเร็วของแสง]] ดังนั้นตัวแสงเองเป็นรูปแบบหนึ่งของรังสีแม่เหล็กไฟฟ้า กฎของแมกซ์เวล ซึ่ง รวมแสง, สนาม, และประจุโหลดเป็นหนึ่งเดียวเป็นหนึ่งของเหตุการณ์สำคัญที่สุดของฟิสิกส์ในทางทฤษฎี<ref name=uniphysics/>{{rp|696–700}}
บรรทัด 525:
-->
=== การผลิตและการส่งกำลัง ===
{{บทความหลัก: [[|การผลิตไฟฟ้า]]}}
ดูเพิ่มเติม: [[การส่งกำลังไฟฟ้า]]และ[[ไฟฟ้าสายเมน]]
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไฟฟ้า"